ฐานข้อมูลส่งเสริมและยกระดับคุณภาพสินค้า OTOP
วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

                             วันที่ 18-19 สิงหาคม 2563 กลุ่มรับรองคุณภาพผล...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

                         วันที่ 5 สิงหาคม 2563 กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการ...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

                            กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทย...

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

                          วันที่ 23 กรกฎาคม 2563 กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ส...

Next Tab

พืชให้สี

สีย้อมธรรมชาติจากพืช (Vegetable Dyes) สีย้อมที่ได้จากพืชจัดเป็นกลุ่มสารสีหลักของสีย้อมธรรมชาติ โดยเป็นสีย้อมที่ได้จากทุกส่วนของพืชทั้ง ราก เปลือก ลำต้น เนื้อไม้ ใบ ดอก ผล และเมล็ด ซึ่งสีย้อมกลุ่มนี้มีความหลากหลาย สามารถแบ่งโดยใช้กรรมวิธีการย้อมเป็นเกณฑ์ได้ 2 กลุ่มคือ.-

  • การย้อมเย็น หรือการย้อมแบบหมัก เป็นสีย้อมที่ได้จากพืช เช่น ผลมะเกลือ ห้อม และคราม เป็นการย้อมสีจากพืชที่มีกรรมวิธีการย้อมโดยไม่ใช้ความร้อน แต่อาศัยคุณสมบัติธรรมชาติของสารสี และปฏิกิริยาเคมีทางธรรมชาติช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย โดยจะหมักเส้นใยไว้ในน้ำย้อมที่อุณหภูมิปกติ ซึ่งพืชแต่ละชนิดจะมีรายละเอียดวิธีการย้อมที่แตกต่างกันตามชนิดของสารสีที่ได้จากพืช
  • การย้อมแบบร้อน สีย้อมธรรมชาติที่ใช้การย้อมแบบร้อน จะเป็นสีย้อมที่ได้จากพืชทั่วไปและครั่ง โดยจะนำวัตถุดิบย้อมสีมาสับให้ละเอียดแล้วต้มให้เดือดเพื่อสกัดสารสีออกจากพืช จากนั้นจึงทำการย้อมกับเส้นใย จะมีการใช้ความร้อนและสารช่วยย้อมช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย

ขมิ้น

ขมิ้น

ชื่อสามัญ : Turmeric,Curcuma ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma longa Linn วงศ์ :&nb...

ขี้เหล็ก

ขี้เหล็ก

ชื่อสามัญ  Siamese senna, Siamese cassia, Cassod tree, Thai copperpod ชื่อวิทยาศาสตร์ ...

ข่า

ข่า

ชื่อสามัญ  Galanga, Greater Galangal, False Galangal ชื่อวิทยาศาสตร์  Alpinia galanga...

คราม

คราม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Indigofera tinctoria Linn. วงศ์ : PAPILIONEAE ชื่อท้องถิ...

คำฝอย

คำฝอย

ชื่อสามัญ แซฟฟลาวเวอร์ Safflower, False Saffron, Saffron Thistle คําฝอย ชื่อว...

ฉำฉา

ฉำฉา

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Samanea saman (Jacg) Merr. วงศ์ : MIMOSACEAE ชื่อท้องถ...

ตะโก

ตะโก

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Diospyios rhodcalyx. วงศ์ : EBENACEAE ชื่อท้องถิ่น...

ติ้ว

ติ้ว

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gratoxylum tormosurn (Jack) Dyer ssp.pruniflorum (Kurz.) Gogelin วงศ์ : GU...

ทองกวาว

ทองกวาว

ชื่อสามัญ : Flame of the forest, Bastard Teak, Bengal kinotree, Kino tree ชื่อวิทยาศาสตร์...

นนทรี

นนทรี

ชื่อสามัญ  Copper pod, Yellow flame, Yellow Poinciana  ชื่อวิทยาศาสตร์  Peltopho...

ประดู่

ประดู่

ชื่อสามัญ Burma Padauk, Narra, Angsana Norra, Malay Padauk, Burmese Rosewood, Andaman Redwood, Amboyna Wood, Indian rosewood...

ฝาง

ฝาง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Caesalpinia sappan Linn. วงศ์ : CAESALPINIACEAE ชื่อท้อง...

พะยอม

พะยอม

ชื่อสามัญ  Shorea, White Meranti  ชื่อวิทยาศาสตร์ Shorea roxburghii G. Don. ว...

มะพร้าว

มะพร้าว

ชื่อสามัญ  Coconut ชื่อวิทยาศาสตร์  Cocos nucifera L. วงศ์ ARECACEAE...

มะพูด

มะพูด

ชื่อสามัญ  Garcinia  ชื่อวิทยาศาสตร์  Garcinia dulcis (Roxb.) Kurz (บ้าง...

มะหาด

มะหาด

ชื่อสามัญ  Lok Hat ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus lakoocha Roxb. (ชื่อพ้องว...

มะเกลือ

มะเกลือ

ชื่อสามัญ  Ebony tree ชื่อวิทยาศาสตร์  Diospyros mollis Griff. วงศ์ ...

มังคุด

มังคุด

ชื่อสามัญ :  Mangosteen ชื่อวิทยาศาสตร์ :  Garcinia mangostana Linn. ...

ยอบ้าน

ยอบ้าน

ชื่อสามัญ : Great morinda, Tahitian noni, Indian mulberry, Beach mulberry หรือจะเรียกตามแหล่...

ยอป่า

ยอป่า

ชื่อสามัญ : - ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morinda coreia Ham. วงศ์ : RUBIACEAE ชื่...

ยูคาลิปตัส

ยูคาลิปตัส

ชื่อสามัญ : Blue gum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eucatyptus glopulus Labill ชื่อท้อ...

สมอไทย

สมอไทย

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia chebula Retz. วงศ์ : COMBRETACEAE ชื่อท้องถิ...

สะเดา

สะเดา

ชื่อสามัญ : Neem Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ : Azadirachta indica A. Juss. (Varsiamensis Valeton)...

สะแกนา

สะแกนา

ชื่อสามัญ Bushwillows, Combretums ชื่อวิทยาศาสตร์ Combretum quadrangulare Kurz. (ชื่อ...

สัก

สัก

ชื่อสามัญ : Teak ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tectona grandis L.f. วงศ์ : VERBE...

ส้มป่อย

ส้มป่อย

ชื่อสามัญ Soap Pod ชื่อวิทยาศาสตร์ Acacia concinna (Willd.) DC. (ชื่อพ้องวิ...

หว้า

หว้า

ชื่อสามัญ : Jambolan Plum, Java Plum, Black Poum, Black Plum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Syzygi...

หูกวาง

หูกวาง

ชื่อสามัญ : Bengal Almond, Almond, Sea Almon ชื่อวิทยาศาสตร์ : Treminalia catappa Linn ...

ฮ่อม

ฮ่อม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Baphicacanthus cusia (Nees) Bremek Zstrobilanthes flaccidfolius (Nees) Imlay วงศ...

เพกา

ชื่อสามัญ  Broken Bones Tree, Damocles tree, Indian trumpet flower ชื่อวิทยาศาสตร์  O...

แกแล/เข

กาแล/เข

ชื่อสามัญ Cockspur thorn ชื่อวิทยาศาสตร์ Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner (ชื่อ...

 

 

       ฝุ่นละออง PM2.5 (Particulate matter) คือ ฝุ่นละอองขนาดเล็กที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2.5 ไมครอน หรือมีขนาดประมาณ 1 ใน 25 ของเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นผมมนุษย์ อาจอยู่ในสภาพของของเหลวหรือของแข็งขนาดเล็กที่กระจายอยู่ในอากาศ ทำให้มองเห็นเป็นลักษณะหมอก หรือควัน โดยสาเหตุหลักเกิดจากการเผาไหม้ทั้งจากยานพาหนะ การเผาวัสดุการเกษตร ไฟป่า และกระบวนการทางอุตสาหกรรม

                                                    

                                (ที่มา : http://www.thaihealth.or.th/Content/44590-                                       (ที่มา : https://news.thaiware.com/12547.html)                            

                                  สูด%20‘ฝุ่นละออง’%20ต่อโรคทางเดินหายใจ.html) 

       หากสูดดมฝุ่นละออง PM2.5 เข้าไปในปริมาณมากส่งผลต่อสุขภาพร่างกาย เนื่องจากสามารถเข้าไปถึงระบบภายในร่างกายโดยผ่านขนจมูกและโพรงจมูก ทำให้ฝุ่นละอองชนิดนี้สามารถแพร่กระจายเข้าสู่ทางเดินหายใจ กระแสเลือด และแทรกซึมสู่กระบวนการทำงานในอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย เพิ่มความเสี่ยงเป็นโรคเรื้อรัง เช่น

              - โรคหัวใจและหลอดเลือด อาจทำให้เกิดเหตุรุนแรงเฉียบพลันกับกล้ามเนื้อหัวใจ เกิดภาวะหัวใจวาย หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจเต้นแรงขึ้น อัตราการผันแปรการเต้นของหัวใจลดลง ตลอดจนมีความเสี่ยงที่จะเกิดการตายจากภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน
              - โรคระบบทางเดินหายใจ ฝุ่นละอองในอากาศถือเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ และกระตุ้นให้เกิดอาการกำเริบ ได้แก่ โรคหอบหืด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และโรคมะเร็งปอด 
              - โรคเกี่ยวกับสมอง พบว่าหากร่างกายได้รับฝุ่นละอองสะสมไว้นานๆ อาจเพิ่มความเสี่ยงทำให้หลอดเลือดแดงในสมองแข็งตัว ทำให้ความดันโลหิตและความหนืดของเลือดเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดลิ่มเลือดในสมองได้
       ทั้งนี้ องค์การอนามัยโลก (WHO) กำหนดให้ฝุ่นละออง PM2.5 จัดอยู่ในกลุ่มที่ 1 ของสารก่อมะเร็ง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 และยังเป็นสาเหตุให้ 1 ใน 8 ของประชากรโลกเสียชีวิตก่อนวัยอันควร
 
 
(ที่มา : https://www.prachachat.net/marketing/news-278854)
 
       ในช่วงที่ผ่านมาประเทศไทยประสบกับปัญหาวิกฤติฝุ่นละออง PM2.5 อย่างหนัก เนื่องจากค่าฝุ่นละออง PM2.5 มีค่าเกินมาตรฐาน จนอยู่ในระดับส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน กระทรวงสาธารณสุขจึงแนะนำวิธีป้องกันตัวเองจากฝุ่นละออง PM2.5 เพื่อเป็นแนวทางให้ประชาชนปฏิบัติสำหรับป้องกันฝุ่นละอองเข้าสู่ร่างกายได้อย่างถูกต้อง โดยมี 5 มาตรการ “หลีก ปิด ใช้ เลี่ยง ลด” คือ
       1. หลีกการสัมผัสฝุ่นละออง โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้สูงอายุ หญิงตั้งครรภ์ เด็กเล็ก และผู้ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ หอบหืด ภูมิแพ้ 
 
                                                      
 
                             (ที่มา : https://www.thaihealth.or.th/Content/29420-                      (ที่มา : https://www.amarinbabyandkids.com/parenting/baby/baby-3/)                                                           เพิ่มคลินิกผู้สูงอายุ%20ลดโรคเรื้อรัง.html)
 
       2. ปิดประตู หน้าต่างให้มิดชิด ป้องกันฝุ่นละออง หมั่นทำความสะอาดบ้านทุกวัน
 
                                                           
 
                                       (ที่มา : http://www.baanlaesuan.com/135033/                                           (ที่มา : https://decor.mthai.com/home-idea/                                  
                                           diy/easy-tips/protect-from-dustpollution)                                                          tips-home-idea/53769.html)
 
       3. ใช้หน้ากากที่มีประสิทธิภาพในการกรองอนุภาคที่มีขนาดเล็กกว่า 0.3 ไมครอนได้ เช่น N95, P100
 
                                                                          
 
 
                                   (ที่มา : https://www.monotaro.co.th/p/36022691/)                             (ที่มา : http://timeout.siamsport.co.th/health/view/110620)
 
       4. เลี่ยงการออกกำลังกาย หรือทำงานนานกว่า 12 ชั่วโมงในที่โล่งแจ้ง 
 
                                                             
 
                             (ที่มา : https://health.campus-star.com/general/18993.html)                              (ที่มา : https://www.posttoday.com/economy/567858)
 
       5. ลดการใช้รถยนต์ และการเผาขยะ
 
                                                             
 
                                  (ที่มา : https://health.kapook.com/view205013.html)                              (ที่มา : https://mgronline.com/crime/detail/9570000047037)
 
       อย่างไรก็ตาม ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ที่คุณภาพอากาศอยู่ในระดับเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพควรป้องกันและดูแลสุขภาพของตัวเองให้ถูกวิธี หากมีอาการผิดปกติหลังสูดดมฝุ่นละออง PM2.5 เช่น หายใจติดขัด แน่นหน้าอก วิงเวียนศีรษะ หรือหมดสติ ควรรีบไปพบแพทย์ ซึ่งประชาชนสามารถติดตามสถานการณ์คุณภาพอากาศแบบ realtime ของกรมควบคุมมลพิษได้ทางแอปพลิเคชัน Air4Thai หรือเว็บไซต์ http://air4thai.pcd.go.th 
 
เอกสารอ้างอิง
กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ. ข้อมูลดัชนีคุณภาพอากาศ.  [ออนไลน์]  [อ้างถึงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2562]. 
       เข้าถึงจาก : http://air4thai.pcd.go.th/webV2/aqi_info.php
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์. มลพิษจากอนุภาคฝุ่นละออง อันตรายคุกคามในอากาศ.  [ออนไลน์]  [อ้างถึงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2562]. 
       เข้าถึงจาก : https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/February-2018/air-pollution-threat
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. สธ. แนะ 5 มาตรการป้องกันฝุ่นละออง.  [ออนไลน์]  [อ้างถึงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2562]. 
       เข้าถึงจาก : https://www.thaihealth.or.th/Content/40849-สธ.แนะ%205%20มาตรการ%20ป้องกันฝุ่นละออง.html