ติ้ว
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gratoxylum tormosurn (Jack) Dyer ssp.pruniflorum (Kurz.) Gogelin
วงศ์ : GUTTIFERAE
ชื่อท้องถิ่น : แต้ว (ไทย, ติ้วขน ( กลางและราชสีมา), ติ้วแดง ติ้วยาง ติ้วเลือด (เหนือ), แต้วหิน (ลำปาง) กุยฉ่องเช้า ( กะเหรี่ยงลำปาง), เตา (เลย, ติ้วขาว (กรุงเทพ), ติ้วส้ม (นครราชสีมา), ผักติ้ว ( อุบลราชธานี มหาสารคาม - อีสาน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ลำต้น :- | |
เป็นไม้ยืนต้นที่มีขนาดเล็กถึงขนาดกลางสูง 8 - 15 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมกิ่งอ่อนมีขนนุ่มทั่วไป เปลือกน้ำตาลไหม้แตกเป็นสะเก็ด เปลือกในสีน้ำตาลแกมเหลือง และมีน้ำยางสีเหลืองปนแดงซึมออกมา | |
ใบ :- | |
ใบมนแกมรูปไข่กลับและรูปขอบขนาดกว้าง 2 - 5 เซนติเมตร ยาว 3 - 13 เซนติเมตร ออกเป็นคู่ๆ ตรงกันข้าม ใบมีขนนุ่มหนาแน่น | |
ดอก :- | |
สีชมพูอ่อนถึงสีแดงกลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นดอก | |
ผล :- | |
รูปร่างรีขนาดกว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 2 เซนติเมตร มีสีขาวนวลติดตามผิว เมื่อแก่จัดจะแตกออกเป็นสามแฉกมีเมล็ดสีน้ำตาล | |
ส่วนที่ให้สี :- | |
คือ เปลือก | |
สีที่ได้ :- | |
สีน้ำตาล | |
วิธีการย้อมสี :- | |