ฐานข้อมูลส่งเสริมและยกระดับคุณภาพสินค้า OTOP
อ้างอิง
กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. โครงการพัฒนาคุณภาพถ่านอัดแท่งและถ่านผลไม้ดูดกลิ่นให้ได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน.
       โครงการทดสอบสินค้า OTOP เพื่อยกระดับคุณภาพสินค้าและความปลอดภัยของผู้บริโภค, กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2558, หน้า 126-131.
กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. โครงการพัฒนาคุณภาพถ่านอัดแท่งและถ่านผลไม้ดูดกลิ่นให้ได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนในพื้นที่
       จังหวัดภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้. โครงการทดสอบสินค้า OTOP เพื่อยกระดับคุณภาพสินค้าและความปลอดภัยของผู้บริโภค,
       กรุงเทพฯ : บริษัท วิสต้า อินเตอร์ปริ้นท์ จำกัด, 2559, หน้า 122-125.
ฐิติมา  รุ่งรัตนาอุบล. พลังงานเขียวจากเชื้อเพลิงอัดแท่ง (Green energy of fuel briquette). วิศวกรรมสาร, มกราคม-กุมภาพันธ์, 2555, ปีที่ 65, ฉบับที่ 1, หน้า 43-46.  
       (แฟ้มประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง (CF 61), A7)
ธรรมศักดิ์  พันธุ์แสนศรี และคณะ. รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการ “การผลิตพลังงานและเพิ่มมูลค่าของวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร”
       [ออนไลน์]  [อ้างถึงวันที่ 8 สิงหาคม 2559] เข้าถึงจาก : http://www.clinictech.most.go.th/online/Usermanage/FinalReport/2012215200451.pdf
นฤมล  ภานุนำภา และคณะ. การผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งจากเศษวัสดุการเกษตรและปาล์มน้ำมัน.  [ออนไลน์] [อ้างถึงวันที่ 4 สิงหาคม 2559] 
       เข้าถึงจาก : http://forprod.forest.go.th/forprod/PDF/15.เชื้อเพลิงอัดแท่งจากเศษวัสดุการเกษตรและปาล์มน้ำมัน.pdf
ปิยนุช  นาคะ. ถ่านกะลามะพร้าวอัดแท่ง. กสิกร, กันยายน-ตุลาคม, 2545, ปีที่ 75, ฉบับที่ 5, หน้า 97-99. (แฟ้มประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง (CF 61), A12)
พานิชย์  ยศปัญญา. ถ่านอัดแท่งจากซังข้าวโพดภูมิปัญญาสร้างสรรค์เพิ่มพลังงาน. เทคโนโลยีชาวบ้าน, 1 กันยายน, 2547, ปีที่ 16, ฉบับที่ 342, หน้า 22-24.
       (แฟ้มประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง (CF 61), A14)
ศิริชัย  ต่อสกุล กุณฑล  ทองศรี และจงกล  สุภารัตน์. การพัฒนาถ่านอัดแท่งจากกากมะพร้าวเป็นพลังงานทดแทน (Development of charcoal briquette from
       scrapped coconut for alternative energy). [ออนไลน์]  [อ้างถึงวันที่ 9 สิงหาคม 2559] 
       เข้าถึงจาก : http://www.dms.eng.su.ac.th/filebox/FileData/MPM040.pdf
ศูนย์ธุรกิจอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. ถ่านกะลามะพร้าวอัดแท่ง.  [ออนไลน์]  [อ้างถึงวันที่ 9 สิงหาคม 2559] 
       เข้าถึงจาก : http://boc.dip.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=406&Itemid=48
สิริพร  ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา. เศษถ่านสร้างรายได้. เทคโนโลยีชาวบ้าน, 1 กรกฎาคม, 2552, ปีที่ 21, ฉบับที่ 458, หน้า 48-29.
       (แฟ้มประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง (CF 61), A16)
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ถ่านอัดแท่ง มผช.238/2547. [ออนไลน์]  [อ้างถึงวันที่ 4 สิงหาคม 2559] 
       เข้าถึงจาก : http://tcps.tisi.go.th/pub/tcps238_47.pdf
สำนักเทคโนโลยีชุมชน กรมวิทยาศาสตร์บริการ. การผลิตถ่านอัดแท่งจากวัสดุทางการเกษตร.  [ออนไลน์][อ้างถึงวันที่ 4 สิงหาคม 2559] 
       เข้าถึงจาก : http://siweb.dss.go.th/bct/fulltext/report/otop13.pdf
อัจฉรา  อัศวรุจิกุลชัย และคณะ. การนำเปลือกทุเรียนและเปลือกมังคุดมาใช้ประโยชน์ในรูปเชื้อเพลิงอัดแท่ง. [ออนไลน์]  [อ้างถึงวันที่ 8 สิงหาคม 2559] 
       เข้าถึงจาก : http://kucon.lib.ku.ac.th/Fulltext/KC4905022.pdf 
อุกฤษฏ์  โข่ศรี. การผลิตถ่านอัดแท่งจากแกลบและฟางข้าว. วารสารคลินิกเทคโนโลยี, กันยายน, 2549, ปีที่ 1, ฉบับที่ 1, หน้า 20-21.
       (แฟ้มประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง (CF 61), A18)
อุกฤษฏ์  โข่ศรี. ถ่านอัดแท่งพลังงานทางเลือกในยุคน้ำมันแพง. วารสารคลินิกเทคโนโลยี, กันยายน, 2551, ปีที่ 3, ฉบับที่ 2, หน้า 16-17.
       (แฟ้มประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง (CF 61), A20)