ฐานข้อมูลส่งเสริมและยกระดับคุณภาพสินค้า OTOP
วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

                             วันที่ 18-19 สิงหาคม 2563 กลุ่มรับรองคุณภาพผล...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

                         วันที่ 5 สิงหาคม 2563 กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการ...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

                            กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทย...

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

                          วันที่ 23 กรกฎาคม 2563 กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ส...

Next Tab

พืชให้สี

สีย้อมธรรมชาติจากพืช (Vegetable Dyes) สีย้อมที่ได้จากพืชจัดเป็นกลุ่มสารสีหลักของสีย้อมธรรมชาติ โดยเป็นสีย้อมที่ได้จากทุกส่วนของพืชทั้ง ราก เปลือก ลำต้น เนื้อไม้ ใบ ดอก ผล และเมล็ด ซึ่งสีย้อมกลุ่มนี้มีความหลากหลาย สามารถแบ่งโดยใช้กรรมวิธีการย้อมเป็นเกณฑ์ได้ 2 กลุ่มคือ.-

  • การย้อมเย็น หรือการย้อมแบบหมัก เป็นสีย้อมที่ได้จากพืช เช่น ผลมะเกลือ ห้อม และคราม เป็นการย้อมสีจากพืชที่มีกรรมวิธีการย้อมโดยไม่ใช้ความร้อน แต่อาศัยคุณสมบัติธรรมชาติของสารสี และปฏิกิริยาเคมีทางธรรมชาติช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย โดยจะหมักเส้นใยไว้ในน้ำย้อมที่อุณหภูมิปกติ ซึ่งพืชแต่ละชนิดจะมีรายละเอียดวิธีการย้อมที่แตกต่างกันตามชนิดของสารสีที่ได้จากพืช
  • การย้อมแบบร้อน สีย้อมธรรมชาติที่ใช้การย้อมแบบร้อน จะเป็นสีย้อมที่ได้จากพืชทั่วไปและครั่ง โดยจะนำวัตถุดิบย้อมสีมาสับให้ละเอียดแล้วต้มให้เดือดเพื่อสกัดสารสีออกจากพืช จากนั้นจึงทำการย้อมกับเส้นใย จะมีการใช้ความร้อนและสารช่วยย้อมช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย

ขมิ้น

ขมิ้น

ชื่อสามัญ : Turmeric,Curcuma ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma longa Linn วงศ์ :&nb...

ขี้เหล็ก

ขี้เหล็ก

ชื่อสามัญ  Siamese senna, Siamese cassia, Cassod tree, Thai copperpod ชื่อวิทยาศาสตร์ ...

ข่า

ข่า

ชื่อสามัญ  Galanga, Greater Galangal, False Galangal ชื่อวิทยาศาสตร์  Alpinia galanga...

คราม

คราม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Indigofera tinctoria Linn. วงศ์ : PAPILIONEAE ชื่อท้องถิ...

คำฝอย

คำฝอย

ชื่อสามัญ แซฟฟลาวเวอร์ Safflower, False Saffron, Saffron Thistle คําฝอย ชื่อว...

ฉำฉา

ฉำฉา

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Samanea saman (Jacg) Merr. วงศ์ : MIMOSACEAE ชื่อท้องถ...

ตะโก

ตะโก

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Diospyios rhodcalyx. วงศ์ : EBENACEAE ชื่อท้องถิ่น...

ติ้ว

ติ้ว

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gratoxylum tormosurn (Jack) Dyer ssp.pruniflorum (Kurz.) Gogelin วงศ์ : GU...

ทองกวาว

ทองกวาว

ชื่อสามัญ : Flame of the forest, Bastard Teak, Bengal kinotree, Kino tree ชื่อวิทยาศาสตร์...

นนทรี

นนทรี

ชื่อสามัญ  Copper pod, Yellow flame, Yellow Poinciana  ชื่อวิทยาศาสตร์  Peltopho...

ประดู่

ประดู่

ชื่อสามัญ Burma Padauk, Narra, Angsana Norra, Malay Padauk, Burmese Rosewood, Andaman Redwood, Amboyna Wood, Indian rosewood...

ฝาง

ฝาง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Caesalpinia sappan Linn. วงศ์ : CAESALPINIACEAE ชื่อท้อง...

พะยอม

พะยอม

ชื่อสามัญ  Shorea, White Meranti  ชื่อวิทยาศาสตร์ Shorea roxburghii G. Don. ว...

มะพร้าว

มะพร้าว

ชื่อสามัญ  Coconut ชื่อวิทยาศาสตร์  Cocos nucifera L. วงศ์ ARECACEAE...

มะพูด

มะพูด

ชื่อสามัญ  Garcinia  ชื่อวิทยาศาสตร์  Garcinia dulcis (Roxb.) Kurz (บ้าง...

มะหาด

มะหาด

ชื่อสามัญ  Lok Hat ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus lakoocha Roxb. (ชื่อพ้องว...

มะเกลือ

มะเกลือ

ชื่อสามัญ  Ebony tree ชื่อวิทยาศาสตร์  Diospyros mollis Griff. วงศ์ ...

มังคุด

มังคุด

ชื่อสามัญ :  Mangosteen ชื่อวิทยาศาสตร์ :  Garcinia mangostana Linn. ...

ยอบ้าน

ยอบ้าน

ชื่อสามัญ : Great morinda, Tahitian noni, Indian mulberry, Beach mulberry หรือจะเรียกตามแหล่...

ยอป่า

ยอป่า

ชื่อสามัญ : - ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morinda coreia Ham. วงศ์ : RUBIACEAE ชื่...

ยูคาลิปตัส

ยูคาลิปตัส

ชื่อสามัญ : Blue gum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eucatyptus glopulus Labill ชื่อท้อ...

สมอไทย

สมอไทย

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia chebula Retz. วงศ์ : COMBRETACEAE ชื่อท้องถิ...

สะเดา

สะเดา

ชื่อสามัญ : Neem Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ : Azadirachta indica A. Juss. (Varsiamensis Valeton)...

สะแกนา

สะแกนา

ชื่อสามัญ Bushwillows, Combretums ชื่อวิทยาศาสตร์ Combretum quadrangulare Kurz. (ชื่อ...

สัก

สัก

ชื่อสามัญ : Teak ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tectona grandis L.f. วงศ์ : VERBE...

ส้มป่อย

ส้มป่อย

ชื่อสามัญ Soap Pod ชื่อวิทยาศาสตร์ Acacia concinna (Willd.) DC. (ชื่อพ้องวิ...

หว้า

หว้า

ชื่อสามัญ : Jambolan Plum, Java Plum, Black Poum, Black Plum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Syzygi...

หูกวาง

หูกวาง

ชื่อสามัญ : Bengal Almond, Almond, Sea Almon ชื่อวิทยาศาสตร์ : Treminalia catappa Linn ...

ฮ่อม

ฮ่อม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Baphicacanthus cusia (Nees) Bremek Zstrobilanthes flaccidfolius (Nees) Imlay วงศ...

เพกา

ชื่อสามัญ  Broken Bones Tree, Damocles tree, Indian trumpet flower ชื่อวิทยาศาสตร์  O...

แกแล/เข

กาแล/เข

ชื่อสามัญ Cockspur thorn ชื่อวิทยาศาสตร์ Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner (ชื่อ...

     

 

     

 

     

 

 2 สิงหาคม 2561 นายอภิชัย สมบูรณ์ปกรณ์ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้เกียรติเป็นประธานเปิดงาน “มหกรรมวิทย์สร้างอาชีพ ยกระดับภูมิภาค” จัดโดยความร่วมมือของหน่วยงานเครือข่าย ได้แก่ กรมวิทยาศาสตร์บริการ(วศ.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย(วว.) เป้าหมายขับเคลื่อนวิทยาศาสตร์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคมฐานราก โดยมี นางอุมาพร สุขม่วง อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์บริการ นางอาภารัตน์ มหาขันธ์ รองผู้ว่าการวิจัยและพัฒนาด้านพัฒนาอย่างยั่งยืน คณะผู้บริหาร ทีมนักวิทยาศาสตร์ และนายสาคร รุ่งเรือง รองผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน ให้การต้อนรับ ณ ห้องประชุมต่างระดับ อาคารฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน

              นายอภิชัยฯ กล่าวว่า กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ให้ความสำคัญกับการยกระดับผู้ประกอบการโอทอปในพื้นที่ 10 จังหวัดเป้าหมาย ได้แก่ อำนาจเจริญ กาฬสินธุ์ บุรีรัมย์ นครพนม น่าน แม่ฮ่องสอน ตากนราธิวาส ปัตตานี และชัยนาท เพื่อต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยใช้หลักการของวิทยาศาสตร์ ก่อให้เกิดเป็นนวัตกรรมทางการเกษตรที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตที่สามารถลดต้นทุนการผลิต สร้างรายได้ สร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนแก่อาชีพเกษตรกรรม

              นางอุมาพรฯ กล่าวว่า กรมวิทยาศาสตร์บริการได้เป็นเจ้าภาพจัดงานมหกรรมวิทย์สร้างอาชีพ ยกระดับภูมิภาค จังหวัดแม่ฮ่องสอน ร่วมกับหลายหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ มุ่งเป้านำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) ไปช่วยยกระดับการผลิตสินค้าเกษตรและสินค้าโอทอปให้ได้คุณภาพ ลดต้นทุนการผลิต และนำไปสู่การจำหน่ายได้จริงในเชิงพาณิชย์ สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ประเทศไทยหลุดพ้นจากกับดักการมีรายได้ปานกลางสู่การสร้างรายได้สูงขึ้น ควบคู่ไปกับการลดความเหลื่อมล้ำ กระจายรายได้และโอกาสอย่างทั่วถึงโดย ซึ่งในวันนี้มีผู้ร่วมงานประกอบด้วย ผู้ประกอบการOTOP และ เกษตรกรจากจังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดลำพูน จำนวนประมาณ 500 คน รวมทั้งได้มีการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการผลิตยกระดับคุณภาพของสินค้าOTOPและสร้างนวัตกรรมการเกษตรด้วย

             นายสาคร รุ่งเรือง รองผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน กล่าวว่า แม่ฮ่องสอนเป็นจังหวัดที่ประชากรมีความหลากหลาย ขณะเดียวกันก็อยู่ร่วมกันโดยไม่เคยปรากฏความแตกต่างแต่อย่างใดและยังรักษาวัฒนธรรมของตนเอาไว้ได้อันเป็นเสน่ห์ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในส่วนสินค้าOTOPของจังหวัดส่วนใหญ่พบว่ายังไม่เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวเท่าที่ควร เนื่องจากสินค้าโอทอปที่ผลิตและจำหน่ายในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ยังขาดเอกลักษณ์และไม่มีความแตกต่างจากที่อื่น การที่กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ เลือกพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนเป็นพื้นที่เป้าหมายพัฒนาทั้งด้านเกษตร และสินค้าโอทอป เพื่อให้การสนับสนุนองค์ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมมาถ่ายทอดเพื่อพัฒนาศักยภาพของ ผู้ประกอบการโอทอปและเกษตรกรให้ได้รับความรู้ เพื่อช่วยยกระดับความเป็นอยู่ของ ผู้ประกอบการ OTOP และเกษตรกรให้ดีขึ้น เป็นการสร้างโอกาส สร้างอาชีพ ต่อไปได้

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ข่าว / ภาพ : จิตลดา คณีกุล   ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม

กรมวิทยาศาสตร์บริการ  กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี