ฐานข้อมูลส่งเสริมและยกระดับคุณภาพสินค้า OTOP
วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

                             วันที่ 18-19 สิงหาคม 2563 กลุ่มรับรองคุณภาพผล...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

                         วันที่ 5 สิงหาคม 2563 กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการ...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

                            กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทย...

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

                          วันที่ 23 กรกฎาคม 2563 กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ส...

Next Tab

พืชให้สี

สีย้อมธรรมชาติจากพืช (Vegetable Dyes) สีย้อมที่ได้จากพืชจัดเป็นกลุ่มสารสีหลักของสีย้อมธรรมชาติ โดยเป็นสีย้อมที่ได้จากทุกส่วนของพืชทั้ง ราก เปลือก ลำต้น เนื้อไม้ ใบ ดอก ผล และเมล็ด ซึ่งสีย้อมกลุ่มนี้มีความหลากหลาย สามารถแบ่งโดยใช้กรรมวิธีการย้อมเป็นเกณฑ์ได้ 2 กลุ่มคือ.-

  • การย้อมเย็น หรือการย้อมแบบหมัก เป็นสีย้อมที่ได้จากพืช เช่น ผลมะเกลือ ห้อม และคราม เป็นการย้อมสีจากพืชที่มีกรรมวิธีการย้อมโดยไม่ใช้ความร้อน แต่อาศัยคุณสมบัติธรรมชาติของสารสี และปฏิกิริยาเคมีทางธรรมชาติช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย โดยจะหมักเส้นใยไว้ในน้ำย้อมที่อุณหภูมิปกติ ซึ่งพืชแต่ละชนิดจะมีรายละเอียดวิธีการย้อมที่แตกต่างกันตามชนิดของสารสีที่ได้จากพืช
  • การย้อมแบบร้อน สีย้อมธรรมชาติที่ใช้การย้อมแบบร้อน จะเป็นสีย้อมที่ได้จากพืชทั่วไปและครั่ง โดยจะนำวัตถุดิบย้อมสีมาสับให้ละเอียดแล้วต้มให้เดือดเพื่อสกัดสารสีออกจากพืช จากนั้นจึงทำการย้อมกับเส้นใย จะมีการใช้ความร้อนและสารช่วยย้อมช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย

ขมิ้น

ขมิ้น

ชื่อสามัญ : Turmeric,Curcuma ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma longa Linn วงศ์ :&nb...

ขี้เหล็ก

ขี้เหล็ก

ชื่อสามัญ  Siamese senna, Siamese cassia, Cassod tree, Thai copperpod ชื่อวิทยาศาสตร์ ...

ข่า

ข่า

ชื่อสามัญ  Galanga, Greater Galangal, False Galangal ชื่อวิทยาศาสตร์  Alpinia galanga...

คราม

คราม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Indigofera tinctoria Linn. วงศ์ : PAPILIONEAE ชื่อท้องถิ...

คำฝอย

คำฝอย

ชื่อสามัญ แซฟฟลาวเวอร์ Safflower, False Saffron, Saffron Thistle คําฝอย ชื่อว...

ฉำฉา

ฉำฉา

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Samanea saman (Jacg) Merr. วงศ์ : MIMOSACEAE ชื่อท้องถ...

ตะโก

ตะโก

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Diospyios rhodcalyx. วงศ์ : EBENACEAE ชื่อท้องถิ่น...

ติ้ว

ติ้ว

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gratoxylum tormosurn (Jack) Dyer ssp.pruniflorum (Kurz.) Gogelin วงศ์ : GU...

ทองกวาว

ทองกวาว

ชื่อสามัญ : Flame of the forest, Bastard Teak, Bengal kinotree, Kino tree ชื่อวิทยาศาสตร์...

นนทรี

นนทรี

ชื่อสามัญ  Copper pod, Yellow flame, Yellow Poinciana  ชื่อวิทยาศาสตร์  Peltopho...

ประดู่

ประดู่

ชื่อสามัญ Burma Padauk, Narra, Angsana Norra, Malay Padauk, Burmese Rosewood, Andaman Redwood, Amboyna Wood, Indian rosewood...

ฝาง

ฝาง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Caesalpinia sappan Linn. วงศ์ : CAESALPINIACEAE ชื่อท้อง...

พะยอม

พะยอม

ชื่อสามัญ  Shorea, White Meranti  ชื่อวิทยาศาสตร์ Shorea roxburghii G. Don. ว...

มะพร้าว

มะพร้าว

ชื่อสามัญ  Coconut ชื่อวิทยาศาสตร์  Cocos nucifera L. วงศ์ ARECACEAE...

มะพูด

มะพูด

ชื่อสามัญ  Garcinia  ชื่อวิทยาศาสตร์  Garcinia dulcis (Roxb.) Kurz (บ้าง...

มะหาด

มะหาด

ชื่อสามัญ  Lok Hat ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus lakoocha Roxb. (ชื่อพ้องว...

มะเกลือ

มะเกลือ

ชื่อสามัญ  Ebony tree ชื่อวิทยาศาสตร์  Diospyros mollis Griff. วงศ์ ...

มังคุด

มังคุด

ชื่อสามัญ :  Mangosteen ชื่อวิทยาศาสตร์ :  Garcinia mangostana Linn. ...

ยอบ้าน

ยอบ้าน

ชื่อสามัญ : Great morinda, Tahitian noni, Indian mulberry, Beach mulberry หรือจะเรียกตามแหล่...

ยอป่า

ยอป่า

ชื่อสามัญ : - ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morinda coreia Ham. วงศ์ : RUBIACEAE ชื่...

ยูคาลิปตัส

ยูคาลิปตัส

ชื่อสามัญ : Blue gum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eucatyptus glopulus Labill ชื่อท้อ...

สมอไทย

สมอไทย

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia chebula Retz. วงศ์ : COMBRETACEAE ชื่อท้องถิ...

สะเดา

สะเดา

ชื่อสามัญ : Neem Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ : Azadirachta indica A. Juss. (Varsiamensis Valeton)...

สะแกนา

สะแกนา

ชื่อสามัญ Bushwillows, Combretums ชื่อวิทยาศาสตร์ Combretum quadrangulare Kurz. (ชื่อ...

สัก

สัก

ชื่อสามัญ : Teak ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tectona grandis L.f. วงศ์ : VERBE...

ส้มป่อย

ส้มป่อย

ชื่อสามัญ Soap Pod ชื่อวิทยาศาสตร์ Acacia concinna (Willd.) DC. (ชื่อพ้องวิ...

หว้า

หว้า

ชื่อสามัญ : Jambolan Plum, Java Plum, Black Poum, Black Plum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Syzygi...

หูกวาง

หูกวาง

ชื่อสามัญ : Bengal Almond, Almond, Sea Almon ชื่อวิทยาศาสตร์ : Treminalia catappa Linn ...

ฮ่อม

ฮ่อม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Baphicacanthus cusia (Nees) Bremek Zstrobilanthes flaccidfolius (Nees) Imlay วงศ...

เพกา

ชื่อสามัญ  Broken Bones Tree, Damocles tree, Indian trumpet flower ชื่อวิทยาศาสตร์  O...

แกแล/เข

กาแล/เข

ชื่อสามัญ Cockspur thorn ชื่อวิทยาศาสตร์ Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner (ชื่อ...

คุณค่าทางโภชนาการของกล้วย 

กล้วยเป็นผลไม้ที่อุดมไปด้วยสารอาหารหลายชนิดที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ทั้งโปรตีน คาร์โบไฮเดรตวิตามิน และเกลือแร่ต่างๆ โดยคุณค่าทางโภชนาการของกล้วยแสดงผลดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3แสดงคุณค่าทางโภชนาการของกล้วย

   คุณค่าทางโภชนาการ

   ของกล้วยพันธุ์ต่างๆ

   ปริมาณ ต่อ 100 กรัม

หน่วย

กล้วยไข่1

กล้วยน้ำว้า1

กล้วยหอม1

กล้วยหักมุก1

กล้วยหอม

ประเทศสหรัฐ

อเมริกา2

   พลังงาน

กิโลแคลอรี่

140

139

125

112

88

   น้ำ

กรัม

62.8

62.6

66.3

71.2

74.8

   โปรตีน

กรัม

1.5

1.1

0.9

1.2

1.2

   ไขมัน

กรัม

0.2

0.2

0.2

0.2

0.2

   คาร์โบไฮเดรต

กรัม

32.9

33.1

29.8

26.3

-

   กากอาหาร

กรัม

0.4

0.3

0.3

0.4

-

   ใยอาหาร

กรัม

1.9

2.3

1.9

-

-

   เถ้า

กรัม

0.7

0.7

0.9

0.7

0.8

   แคลเซียม

มิลลิกรัม

4

7

26

7

8

   ฟอสฟอรัส (มิลลิกรัม)

มิลลิกรัม

23

43

46

48

28

   เหล็ก (มิลลิกรัม)

มิลลิกรัม

1.0

0.8

0.8

0.8

0.6

   เบต้า-แคโรทีน

   (โปร-วิตามินเอ)

 ไมโครกรัม

792

54

99

-

-

   ไทอะมีน (วิตามินบี 1)

มิลลิกรัม

0.03

0.04

0.04

0.08

0.04

   ไรโบฟลาวิน (วิตามินบี 2)

มิลลิกรัม

0.05

0.02

0.07

0.11

0.05

   ไนอะซีน

มิลลิกรัม

1.4

1.4

1

0.8

0.7

   วิตามินซี

มิลลิกรัม

2

11

27

1

10

 
                                       (ที่มา : สุนทรีย์, 2543)

                                       หมายเหตุ : 1 คือ ข้อมูลจากเอกสารของกองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2535

                                                        2 คือ ข้อมูลจากหนังสือเรื่อง กล้วย กองค้นคว้าและทดลอง กรมกสิกรรม พ.ศ. 2511

                   จากตารางแสดงให้เห็นว่า กล้วยเป็นแหล่งอาหารที่ให้พลังงานสูง มีแร่ธาตุที่มีประโยชน์ต่อร่างกายหลายชนิด มีวิตามินเอและวิตามินซีสูง เมื่อเปรียบเทียบกล้วยกับแอบเปิ้ลพบว่า กล้วยมีปริมาณโปรตีนมากกว่า 4 เท่า คาร์โบไฮเดรตมากว่า 2 เท่า ฟอสฟอรัสมากกว่า 3 เท่า วิตามินเอและธาตุเหล็กมากกว่า 5 เท่า วิตามินและแร่ธาตุอื่นๆ มากกว่า 2 เท่า รวมถึงยังอุดมไปด้วยโพแทสเซียม (สุธิดา, 2548)

                    นอกจากนี้ กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้วิเคราะห์กล้วยน้ำว้าพบว่า มีส่วนประกอบของโปรตีนในปริมาณใกล้เคียงกับน้ำนมแม่มาก (ตารางที่ 4) จึงเหมาะสำหรับนำมาเป็นอาหารเสริมให้กับเด็กทารกเป็นอย่างยิ่ง (เทวี, 2531) 

ตารางที่ 4แสดงส่วนประกอบของกรดอะมิโนและโปรตีนในส่วนที่กินได้ 100 กรัม

โปรตีน(g)

และกรดอะมิโน (mg)

กล้วนน้ำว้า

กล้วยไข่

นมแม่

ไข่

   โปรตีน

1.0

1.6

1.0

13.3

   กรดอะมิโนทั้งหมด

596

1169

1111

8533

   กรดอะมิโนที่จำเป็นทั้งหมด

216

514

522

4020

       ไอโซลูซิน

28

55

64

465

       ลูซิน

45

96

108

707

       ไลซิน

36

97

83

631

   กรดอะมิโนที่มีกำมะถันเป็นองค์ประกอบ

   ทั้งหมด

12

21

36

489

       เมทิโอนิน

3

9

16

243

       ซิสตีน

9

12

20

246

   กรดอะมิโนที่มีสูตรโครงสร้างเป็นวง

49

115

84

694

       เฟนิลอลานิน

30

52

43

402

       ไทโรซิน

19

63

41

292

       ทรีโอนิน

36

50

63

357

       ทริพโตแฟน

18

26

25

193

       วาลิน

37

54

59

484

   กรดอะมิโนที่ไม่จำเป็น

 

 

 

 

       อาร์จินิน

31

71

49

626

       ฮิสติดิน

31

159

30

192

       อลานิน

35

52

43

410

       กรดแอสปาติค

69

103

102

1037

       กรดกลูตามิค

66

113

189

1087

       ไกลซิน

34

54

27

245

       โปรลิน

31

47

94

312

       ซีริน

38

56

55

604

 กรดอะมิโนที่มีน้อยที่สุด

 

S-c*

S-c

S-c

-

                                          (ที่มา : เทวี, 2531)

                                          หมายเหตุ : S-c* คือ กรดอะมิโนที่มีกำมะถัน

                  ดังนั้น การรับประทานกล้วยเป็นประจำสามารถช่วยบำรุงร่างกายให้แข็งแรง  และป้องกันการเกิดโรคบางชนิดได้ โดยการรับประทานกล้วยจะให้ผลดีที่สุดคือ รับประทานตอนเช้า เนื่องจากจะช่วยให้ระบบต่าง ๆ ในร่างกายทำงานได้ดี