ฐานข้อมูลส่งเสริมและยกระดับคุณภาพสินค้า OTOP
วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

                             วันที่ 18-19 สิงหาคม 2563 กลุ่มรับรองคุณภาพผล...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

                         วันที่ 5 สิงหาคม 2563 กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการ...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

                            กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทย...

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

                          วันที่ 23 กรกฎาคม 2563 กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ส...

Next Tab

พืชให้สี

สีย้อมธรรมชาติจากพืช (Vegetable Dyes) สีย้อมที่ได้จากพืชจัดเป็นกลุ่มสารสีหลักของสีย้อมธรรมชาติ โดยเป็นสีย้อมที่ได้จากทุกส่วนของพืชทั้ง ราก เปลือก ลำต้น เนื้อไม้ ใบ ดอก ผล และเมล็ด ซึ่งสีย้อมกลุ่มนี้มีความหลากหลาย สามารถแบ่งโดยใช้กรรมวิธีการย้อมเป็นเกณฑ์ได้ 2 กลุ่มคือ.-

  • การย้อมเย็น หรือการย้อมแบบหมัก เป็นสีย้อมที่ได้จากพืช เช่น ผลมะเกลือ ห้อม และคราม เป็นการย้อมสีจากพืชที่มีกรรมวิธีการย้อมโดยไม่ใช้ความร้อน แต่อาศัยคุณสมบัติธรรมชาติของสารสี และปฏิกิริยาเคมีทางธรรมชาติช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย โดยจะหมักเส้นใยไว้ในน้ำย้อมที่อุณหภูมิปกติ ซึ่งพืชแต่ละชนิดจะมีรายละเอียดวิธีการย้อมที่แตกต่างกันตามชนิดของสารสีที่ได้จากพืช
  • การย้อมแบบร้อน สีย้อมธรรมชาติที่ใช้การย้อมแบบร้อน จะเป็นสีย้อมที่ได้จากพืชทั่วไปและครั่ง โดยจะนำวัตถุดิบย้อมสีมาสับให้ละเอียดแล้วต้มให้เดือดเพื่อสกัดสารสีออกจากพืช จากนั้นจึงทำการย้อมกับเส้นใย จะมีการใช้ความร้อนและสารช่วยย้อมช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย

ขมิ้น

ขมิ้น

ชื่อสามัญ : Turmeric,Curcuma ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma longa Linn วงศ์ :&nb...

ขี้เหล็ก

ขี้เหล็ก

ชื่อสามัญ  Siamese senna, Siamese cassia, Cassod tree, Thai copperpod ชื่อวิทยาศาสตร์ ...

ข่า

ข่า

ชื่อสามัญ  Galanga, Greater Galangal, False Galangal ชื่อวิทยาศาสตร์  Alpinia galanga...

คราม

คราม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Indigofera tinctoria Linn. วงศ์ : PAPILIONEAE ชื่อท้องถิ...

คำฝอย

คำฝอย

ชื่อสามัญ แซฟฟลาวเวอร์ Safflower, False Saffron, Saffron Thistle คําฝอย ชื่อว...

ฉำฉา

ฉำฉา

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Samanea saman (Jacg) Merr. วงศ์ : MIMOSACEAE ชื่อท้องถ...

ตะโก

ตะโก

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Diospyios rhodcalyx. วงศ์ : EBENACEAE ชื่อท้องถิ่น...

ติ้ว

ติ้ว

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gratoxylum tormosurn (Jack) Dyer ssp.pruniflorum (Kurz.) Gogelin วงศ์ : GU...

ทองกวาว

ทองกวาว

ชื่อสามัญ : Flame of the forest, Bastard Teak, Bengal kinotree, Kino tree ชื่อวิทยาศาสตร์...

นนทรี

นนทรี

ชื่อสามัญ  Copper pod, Yellow flame, Yellow Poinciana  ชื่อวิทยาศาสตร์  Peltopho...

ประดู่

ประดู่

ชื่อสามัญ Burma Padauk, Narra, Angsana Norra, Malay Padauk, Burmese Rosewood, Andaman Redwood, Amboyna Wood, Indian rosewood...

ฝาง

ฝาง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Caesalpinia sappan Linn. วงศ์ : CAESALPINIACEAE ชื่อท้อง...

พะยอม

พะยอม

ชื่อสามัญ  Shorea, White Meranti  ชื่อวิทยาศาสตร์ Shorea roxburghii G. Don. ว...

มะพร้าว

มะพร้าว

ชื่อสามัญ  Coconut ชื่อวิทยาศาสตร์  Cocos nucifera L. วงศ์ ARECACEAE...

มะพูด

มะพูด

ชื่อสามัญ  Garcinia  ชื่อวิทยาศาสตร์  Garcinia dulcis (Roxb.) Kurz (บ้าง...

มะหาด

มะหาด

ชื่อสามัญ  Lok Hat ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus lakoocha Roxb. (ชื่อพ้องว...

มะเกลือ

มะเกลือ

ชื่อสามัญ  Ebony tree ชื่อวิทยาศาสตร์  Diospyros mollis Griff. วงศ์ ...

มังคุด

มังคุด

ชื่อสามัญ :  Mangosteen ชื่อวิทยาศาสตร์ :  Garcinia mangostana Linn. ...

ยอบ้าน

ยอบ้าน

ชื่อสามัญ : Great morinda, Tahitian noni, Indian mulberry, Beach mulberry หรือจะเรียกตามแหล่...

ยอป่า

ยอป่า

ชื่อสามัญ : - ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morinda coreia Ham. วงศ์ : RUBIACEAE ชื่...

ยูคาลิปตัส

ยูคาลิปตัส

ชื่อสามัญ : Blue gum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eucatyptus glopulus Labill ชื่อท้อ...

สมอไทย

สมอไทย

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia chebula Retz. วงศ์ : COMBRETACEAE ชื่อท้องถิ...

สะเดา

สะเดา

ชื่อสามัญ : Neem Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ : Azadirachta indica A. Juss. (Varsiamensis Valeton)...

สะแกนา

สะแกนา

ชื่อสามัญ Bushwillows, Combretums ชื่อวิทยาศาสตร์ Combretum quadrangulare Kurz. (ชื่อ...

สัก

สัก

ชื่อสามัญ : Teak ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tectona grandis L.f. วงศ์ : VERBE...

ส้มป่อย

ส้มป่อย

ชื่อสามัญ Soap Pod ชื่อวิทยาศาสตร์ Acacia concinna (Willd.) DC. (ชื่อพ้องวิ...

หว้า

หว้า

ชื่อสามัญ : Jambolan Plum, Java Plum, Black Poum, Black Plum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Syzygi...

หูกวาง

หูกวาง

ชื่อสามัญ : Bengal Almond, Almond, Sea Almon ชื่อวิทยาศาสตร์ : Treminalia catappa Linn ...

ฮ่อม

ฮ่อม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Baphicacanthus cusia (Nees) Bremek Zstrobilanthes flaccidfolius (Nees) Imlay วงศ...

เพกา

ชื่อสามัญ  Broken Bones Tree, Damocles tree, Indian trumpet flower ชื่อวิทยาศาสตร์  O...

แกแล/เข

กาแล/เข

ชื่อสามัญ Cockspur thorn ชื่อวิทยาศาสตร์ Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner (ชื่อ...

          

 

     

 

วันที่ 17-19 กันยายน 2561 กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นำโดย ดร.ลดา พันธ์สุขุมธนา ผู้อำนวยการสำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พร้อมทีมงานลงพื้นที่ติดตามประเมินผลการดำเนินภายใต้โครงการยกระดับสินค้า OTOP ในจังหวัดนครพนมซึ่งร่วมมือกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร พัฒนาคุณภาพการผลิตของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ผ้าทอ และผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร รวมทั้งให้คำปรึกษาเชิงลึกแล้วจำนวน 18 กลุ่มในเขต อ.เมือง อ.นาแก อ.วังยาง อ.ธาตุพนม อ.เรณูนคร

           ดร.ลดาฯ กล่าวว่า จากการลงพื้นที่ตรวจติดตามผลการดำเนินงานตอบโจทย์ “วิทย์แก้จน” พบว่าหลังจากผู้ประกอบได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ ด้าน วทน. เชิงลึก จากกรมวิทยาศาสตร์บริการ และมหาวิทยาลัยฯ ผู้ประกอบการสามารถนำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยกลุ่มผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหารได้พัฒนากระบวนการผลิต ส่งผลยกระดับผลิตภัณฑ์ ส่วนผู้ประกอบการกลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าทอ ได้นำเทคนิคการย้อมสีธรรมชาติมาประยุกต์ใช้กับการย้อมแบบดั้งเดิม สามารถพัฒนาคุณภาพ พัฒนารูปแบบให้เป็นที่ต้องการของตลาด ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชน ประชาชนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน

            นางสาวกัลย์สุดา สุขสวัสดิ์ ประธานกลุ่มทิวาพัชรสมุนไพร วัย 26 ปี กล่าวว่า หลังเรียนจบมีความมุ่งมั่น ตั้งใจจะพัฒนาผลิตภัณฑ์และส่งเสริมให้คนในชุมชนมีรายได้เพิ่มมากขึ้น เดิมทางกลุ่มได้ผลิตแชมพูสมุนไพรอยู่แล้วแต่ยังไม่มีมาตรฐาน เมื่อผลิตภัณฑ์โดนแสงแดดทำให้สีและกลิ่นเปลี่ยน และตรวจสอบพบค่า pH เกินมาตรฐาน สินค้าจะรู้จักแค่เพียงในชุมชนเท่านั้น แต่เมื่อได้เข้าร่วมโครงการยกระดับ OTOP ด้วยวิทยาศาสตร์ฯ ทางอาจารย์ได้แนะนำให้ทำแบรนด์ใหม่ จากเดิมสินค้าใช้ชื่อคุณนายแม่และคุณครูมะลิ เปลี่ยนเป็นทิวาพัชร รวมถึงปรับสูตรใหม่โดยใช้รางจืด ใบย่านาง สมุนไพรในชุมชนมาเป็นส่วนประกอบ ปรับปรุงการผลิต และเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ใหม่ที่เหมาะสม ช่วยยืดอายุไม่ทำให้ผลิตภัณฑ์เกิดความเสียหาย ทำให้ผลิตภัณฑ์แชมพูสมุนไพรได้มาตรฐาน อย. ได้รับการส่งเสริมด้านการตลาด มีการคำนวณต้นทุนที่ถูกต้อง รวมถึงส่งเสริมการขายทางออนไลน์ ทางกลุ่มดีใจและขอขอบคุณภาครัฐ ภาคการศึกษาที่เห็นความสำคัญของกลุ่มผู้ประกอบการ ทำให้มีกำลังใจก้าวต่อไป เชื่อมั่นว่าจะสร้างความมั่นใจให้กับผู้ใช้ผลิตภัณฑ์มากยิ่งขึ้น

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 ข่าว/ภาพ : จิตลดา คณีกุล  ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม

กรมวิทยาศาสตร์บริการ  กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี