ฐานข้อมูลส่งเสริมและยกระดับคุณภาพสินค้า OTOP
วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

                             วันที่ 18-19 สิงหาคม 2563 กลุ่มรับรองคุณภาพผล...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

                         วันที่ 5 สิงหาคม 2563 กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการ...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

                            กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทย...

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

                          วันที่ 23 กรกฎาคม 2563 กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ส...

Next Tab

พืชให้สี

สีย้อมธรรมชาติจากพืช (Vegetable Dyes) สีย้อมที่ได้จากพืชจัดเป็นกลุ่มสารสีหลักของสีย้อมธรรมชาติ โดยเป็นสีย้อมที่ได้จากทุกส่วนของพืชทั้ง ราก เปลือก ลำต้น เนื้อไม้ ใบ ดอก ผล และเมล็ด ซึ่งสีย้อมกลุ่มนี้มีความหลากหลาย สามารถแบ่งโดยใช้กรรมวิธีการย้อมเป็นเกณฑ์ได้ 2 กลุ่มคือ.-

  • การย้อมเย็น หรือการย้อมแบบหมัก เป็นสีย้อมที่ได้จากพืช เช่น ผลมะเกลือ ห้อม และคราม เป็นการย้อมสีจากพืชที่มีกรรมวิธีการย้อมโดยไม่ใช้ความร้อน แต่อาศัยคุณสมบัติธรรมชาติของสารสี และปฏิกิริยาเคมีทางธรรมชาติช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย โดยจะหมักเส้นใยไว้ในน้ำย้อมที่อุณหภูมิปกติ ซึ่งพืชแต่ละชนิดจะมีรายละเอียดวิธีการย้อมที่แตกต่างกันตามชนิดของสารสีที่ได้จากพืช
  • การย้อมแบบร้อน สีย้อมธรรมชาติที่ใช้การย้อมแบบร้อน จะเป็นสีย้อมที่ได้จากพืชทั่วไปและครั่ง โดยจะนำวัตถุดิบย้อมสีมาสับให้ละเอียดแล้วต้มให้เดือดเพื่อสกัดสารสีออกจากพืช จากนั้นจึงทำการย้อมกับเส้นใย จะมีการใช้ความร้อนและสารช่วยย้อมช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย

ขมิ้น

ขมิ้น

ชื่อสามัญ : Turmeric,Curcuma ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma longa Linn วงศ์ :&nb...

ขี้เหล็ก

ขี้เหล็ก

ชื่อสามัญ  Siamese senna, Siamese cassia, Cassod tree, Thai copperpod ชื่อวิทยาศาสตร์ ...

ข่า

ข่า

ชื่อสามัญ  Galanga, Greater Galangal, False Galangal ชื่อวิทยาศาสตร์  Alpinia galanga...

คราม

คราม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Indigofera tinctoria Linn. วงศ์ : PAPILIONEAE ชื่อท้องถิ...

คำฝอย

คำฝอย

ชื่อสามัญ แซฟฟลาวเวอร์ Safflower, False Saffron, Saffron Thistle คําฝอย ชื่อว...

ฉำฉา

ฉำฉา

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Samanea saman (Jacg) Merr. วงศ์ : MIMOSACEAE ชื่อท้องถ...

ตะโก

ตะโก

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Diospyios rhodcalyx. วงศ์ : EBENACEAE ชื่อท้องถิ่น...

ติ้ว

ติ้ว

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gratoxylum tormosurn (Jack) Dyer ssp.pruniflorum (Kurz.) Gogelin วงศ์ : GU...

ทองกวาว

ทองกวาว

ชื่อสามัญ : Flame of the forest, Bastard Teak, Bengal kinotree, Kino tree ชื่อวิทยาศาสตร์...

นนทรี

นนทรี

ชื่อสามัญ  Copper pod, Yellow flame, Yellow Poinciana  ชื่อวิทยาศาสตร์  Peltopho...

ประดู่

ประดู่

ชื่อสามัญ Burma Padauk, Narra, Angsana Norra, Malay Padauk, Burmese Rosewood, Andaman Redwood, Amboyna Wood, Indian rosewood...

ฝาง

ฝาง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Caesalpinia sappan Linn. วงศ์ : CAESALPINIACEAE ชื่อท้อง...

พะยอม

พะยอม

ชื่อสามัญ  Shorea, White Meranti  ชื่อวิทยาศาสตร์ Shorea roxburghii G. Don. ว...

มะพร้าว

มะพร้าว

ชื่อสามัญ  Coconut ชื่อวิทยาศาสตร์  Cocos nucifera L. วงศ์ ARECACEAE...

มะพูด

มะพูด

ชื่อสามัญ  Garcinia  ชื่อวิทยาศาสตร์  Garcinia dulcis (Roxb.) Kurz (บ้าง...

มะหาด

มะหาด

ชื่อสามัญ  Lok Hat ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus lakoocha Roxb. (ชื่อพ้องว...

มะเกลือ

มะเกลือ

ชื่อสามัญ  Ebony tree ชื่อวิทยาศาสตร์  Diospyros mollis Griff. วงศ์ ...

มังคุด

มังคุด

ชื่อสามัญ :  Mangosteen ชื่อวิทยาศาสตร์ :  Garcinia mangostana Linn. ...

ยอบ้าน

ยอบ้าน

ชื่อสามัญ : Great morinda, Tahitian noni, Indian mulberry, Beach mulberry หรือจะเรียกตามแหล่...

ยอป่า

ยอป่า

ชื่อสามัญ : - ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morinda coreia Ham. วงศ์ : RUBIACEAE ชื่...

ยูคาลิปตัส

ยูคาลิปตัส

ชื่อสามัญ : Blue gum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eucatyptus glopulus Labill ชื่อท้อ...

สมอไทย

สมอไทย

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia chebula Retz. วงศ์ : COMBRETACEAE ชื่อท้องถิ...

สะเดา

สะเดา

ชื่อสามัญ : Neem Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ : Azadirachta indica A. Juss. (Varsiamensis Valeton)...

สะแกนา

สะแกนา

ชื่อสามัญ Bushwillows, Combretums ชื่อวิทยาศาสตร์ Combretum quadrangulare Kurz. (ชื่อ...

สัก

สัก

ชื่อสามัญ : Teak ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tectona grandis L.f. วงศ์ : VERBE...

ส้มป่อย

ส้มป่อย

ชื่อสามัญ Soap Pod ชื่อวิทยาศาสตร์ Acacia concinna (Willd.) DC. (ชื่อพ้องวิ...

หว้า

หว้า

ชื่อสามัญ : Jambolan Plum, Java Plum, Black Poum, Black Plum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Syzygi...

หูกวาง

หูกวาง

ชื่อสามัญ : Bengal Almond, Almond, Sea Almon ชื่อวิทยาศาสตร์ : Treminalia catappa Linn ...

ฮ่อม

ฮ่อม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Baphicacanthus cusia (Nees) Bremek Zstrobilanthes flaccidfolius (Nees) Imlay วงศ...

เพกา

ชื่อสามัญ  Broken Bones Tree, Damocles tree, Indian trumpet flower ชื่อวิทยาศาสตร์  O...

แกแล/เข

กาแล/เข

ชื่อสามัญ Cockspur thorn ชื่อวิทยาศาสตร์ Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner (ชื่อ...

ดร.สุทธิเวช ต.แสงจันทร์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์บริการ เปิดเผยว่า ผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ของภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศ ถือเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นและเป็นที่นิยมของผู้ซื้อ จึงมีส่วนช่วยสร้างรายได้ให้กับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ยังคงประสบปัญหาหลายด้าน นับตั้งแต่การเตรียมวัตถุดิบจนถึงการตลาด การผลิตสินค้าแต่ละครั้งมีคุณภาพไม่คงที่ กรรมวิธีไม่ทันสมัย และไม่สามารถผลิตได้เพียงพอต่อความต้องการของตลาด

  

 

ดังนั้น กรมวิทยาศาสตร์บริการ ในฐานะหน่วยงานภาครัฐที่มีภารกิจด้านบริการทางห้องปฏิบัติการ และการให้บริการต่อสังคม เพื่อนำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาอาชีพของประชาชน มีความตระหนักดีถึงสถานการณ์ปัญหาดังกล่าว จึงได้เข้าร่วมบูรณาการกับจังหวัดต่างๆ เพื่อให้การส่งเสริมและสนับสนุนชุมชนในการแก้ไขและพัฒนาการผลิต การตลาด และการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ภายใต้มาตรฐาน โดยใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้ามาช่วยเหลือ

 

 

อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์บริการ กล่าวต่อว่า ที่ผ่านมา กรมวิทยาศาสตร์บริการ ได้ลงพื้นที่เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งนำตัวอย่างผลิตภัณฑ์ OTOP ประเภทต่างๆ มาดำเนินการทดสอบในห้องปฏิบัติการ เพื่อหาสาเหตุปัญหาและนำมาซึ่งการหาแนวทางช่วยเหลือและพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้อย่างตรงจุด รวมทั้งมีการนำผลงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง มาถ่ายทอดให้ชุมชนและผู้ประกอบการนำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพให้เกิดประสิทธิภาพ โดย กรมวิทยาศาสตร์บริการ ได้จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “โครงการเสริมสร้างผลิตภัณฑ์ OTOP ให้ก้าวไกลสู่ระดับสากลด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

 

ส่งเสริมการสร้างคุณภาพผลิตภัณฑ์ OTOP เพื่อรายได้ที่ยั่งยืน “เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ของกรมวิทยาศาสตร์บริการให้แก่ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ OTOP วิสาหกิจชุมชน เจ้าหน้าที่หน่วยงานเกี่ยวข้อง อาทิ สาธารณสุขจังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด เกษตรจังหวัด บุคลากรในห้องปฏิบัติการมหาวิทยาลัยในภูมิภาค เพื่อนำไปใช้แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการผลิตผลิตภัณฑ์ OTOP ตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ ไปเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน ที่ผ่านมาจะเป็นการจัดครั้งที่ 3 ภาคกลาง ในหัวข้อ “สร้างคุณภาพสินค้า OTOP เพื่อรายได้ที่ยั่งยืน” ณ โรงแรมวาสิฏฐีซิตี้ อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี

 

 

ดร.สุทธิเวช กล่าวต่อว่า กรมวิทยาศาสตร์บริการ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “โครงการเสริมสร้างผลิตภัณฑ์ OTOP ให้ก้าวไกลสู่ระดับสากลด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส่งเสริมการสร้างคุณภาพผลิตภัณฑ์ OTOP เพื่อรายได้ที่ยั่งยืน” ครั้งที่ 3 ภาคกลาง เรื่อง “สร้างคุณภาพสินค้า OTOP เพื่อรายได้ที่ยั่งยืน” จะสามารถช่วยให้ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ OTOP มีความรู้และมีความตระหนักถึงการนำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มาใช้เป็นเครื่องมือในการผลิตผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค รวมทั้งสามารถยื่นขอการรับรองตามมาตรฐานได้ เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตและพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งต่อไป

 

ที่มา : บ้านเมือง (ออนไลน์) http://www.banmuang.co.th/news/region/18858