ฐานข้อมูลส่งเสริมและยกระดับคุณภาพสินค้า OTOP
วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

                             วันที่ 18-19 สิงหาคม 2563 กลุ่มรับรองคุณภาพผล...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

                         วันที่ 5 สิงหาคม 2563 กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการ...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

                            กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทย...

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

                          วันที่ 23 กรกฎาคม 2563 กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ส...

Next Tab

พืชให้สี

สีย้อมธรรมชาติจากพืช (Vegetable Dyes) สีย้อมที่ได้จากพืชจัดเป็นกลุ่มสารสีหลักของสีย้อมธรรมชาติ โดยเป็นสีย้อมที่ได้จากทุกส่วนของพืชทั้ง ราก เปลือก ลำต้น เนื้อไม้ ใบ ดอก ผล และเมล็ด ซึ่งสีย้อมกลุ่มนี้มีความหลากหลาย สามารถแบ่งโดยใช้กรรมวิธีการย้อมเป็นเกณฑ์ได้ 2 กลุ่มคือ.-

  • การย้อมเย็น หรือการย้อมแบบหมัก เป็นสีย้อมที่ได้จากพืช เช่น ผลมะเกลือ ห้อม และคราม เป็นการย้อมสีจากพืชที่มีกรรมวิธีการย้อมโดยไม่ใช้ความร้อน แต่อาศัยคุณสมบัติธรรมชาติของสารสี และปฏิกิริยาเคมีทางธรรมชาติช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย โดยจะหมักเส้นใยไว้ในน้ำย้อมที่อุณหภูมิปกติ ซึ่งพืชแต่ละชนิดจะมีรายละเอียดวิธีการย้อมที่แตกต่างกันตามชนิดของสารสีที่ได้จากพืช
  • การย้อมแบบร้อน สีย้อมธรรมชาติที่ใช้การย้อมแบบร้อน จะเป็นสีย้อมที่ได้จากพืชทั่วไปและครั่ง โดยจะนำวัตถุดิบย้อมสีมาสับให้ละเอียดแล้วต้มให้เดือดเพื่อสกัดสารสีออกจากพืช จากนั้นจึงทำการย้อมกับเส้นใย จะมีการใช้ความร้อนและสารช่วยย้อมช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย

ขมิ้น

ขมิ้น

ชื่อสามัญ : Turmeric,Curcuma ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma longa Linn วงศ์ :&nb...

ขี้เหล็ก

ขี้เหล็ก

ชื่อสามัญ  Siamese senna, Siamese cassia, Cassod tree, Thai copperpod ชื่อวิทยาศาสตร์ ...

ข่า

ข่า

ชื่อสามัญ  Galanga, Greater Galangal, False Galangal ชื่อวิทยาศาสตร์  Alpinia galanga...

คราม

คราม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Indigofera tinctoria Linn. วงศ์ : PAPILIONEAE ชื่อท้องถิ...

คำฝอย

คำฝอย

ชื่อสามัญ แซฟฟลาวเวอร์ Safflower, False Saffron, Saffron Thistle คําฝอย ชื่อว...

ฉำฉา

ฉำฉา

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Samanea saman (Jacg) Merr. วงศ์ : MIMOSACEAE ชื่อท้องถ...

ตะโก

ตะโก

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Diospyios rhodcalyx. วงศ์ : EBENACEAE ชื่อท้องถิ่น...

ติ้ว

ติ้ว

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gratoxylum tormosurn (Jack) Dyer ssp.pruniflorum (Kurz.) Gogelin วงศ์ : GU...

ทองกวาว

ทองกวาว

ชื่อสามัญ : Flame of the forest, Bastard Teak, Bengal kinotree, Kino tree ชื่อวิทยาศาสตร์...

นนทรี

นนทรี

ชื่อสามัญ  Copper pod, Yellow flame, Yellow Poinciana  ชื่อวิทยาศาสตร์  Peltopho...

ประดู่

ประดู่

ชื่อสามัญ Burma Padauk, Narra, Angsana Norra, Malay Padauk, Burmese Rosewood, Andaman Redwood, Amboyna Wood, Indian rosewood...

ฝาง

ฝาง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Caesalpinia sappan Linn. วงศ์ : CAESALPINIACEAE ชื่อท้อง...

พะยอม

พะยอม

ชื่อสามัญ  Shorea, White Meranti  ชื่อวิทยาศาสตร์ Shorea roxburghii G. Don. ว...

มะพร้าว

มะพร้าว

ชื่อสามัญ  Coconut ชื่อวิทยาศาสตร์  Cocos nucifera L. วงศ์ ARECACEAE...

มะพูด

มะพูด

ชื่อสามัญ  Garcinia  ชื่อวิทยาศาสตร์  Garcinia dulcis (Roxb.) Kurz (บ้าง...

มะหาด

มะหาด

ชื่อสามัญ  Lok Hat ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus lakoocha Roxb. (ชื่อพ้องว...

มะเกลือ

มะเกลือ

ชื่อสามัญ  Ebony tree ชื่อวิทยาศาสตร์  Diospyros mollis Griff. วงศ์ ...

มังคุด

มังคุด

ชื่อสามัญ :  Mangosteen ชื่อวิทยาศาสตร์ :  Garcinia mangostana Linn. ...

ยอบ้าน

ยอบ้าน

ชื่อสามัญ : Great morinda, Tahitian noni, Indian mulberry, Beach mulberry หรือจะเรียกตามแหล่...

ยอป่า

ยอป่า

ชื่อสามัญ : - ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morinda coreia Ham. วงศ์ : RUBIACEAE ชื่...

ยูคาลิปตัส

ยูคาลิปตัส

ชื่อสามัญ : Blue gum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eucatyptus glopulus Labill ชื่อท้อ...

สมอไทย

สมอไทย

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia chebula Retz. วงศ์ : COMBRETACEAE ชื่อท้องถิ...

สะเดา

สะเดา

ชื่อสามัญ : Neem Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ : Azadirachta indica A. Juss. (Varsiamensis Valeton)...

สะแกนา

สะแกนา

ชื่อสามัญ Bushwillows, Combretums ชื่อวิทยาศาสตร์ Combretum quadrangulare Kurz. (ชื่อ...

สัก

สัก

ชื่อสามัญ : Teak ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tectona grandis L.f. วงศ์ : VERBE...

ส้มป่อย

ส้มป่อย

ชื่อสามัญ Soap Pod ชื่อวิทยาศาสตร์ Acacia concinna (Willd.) DC. (ชื่อพ้องวิ...

หว้า

หว้า

ชื่อสามัญ : Jambolan Plum, Java Plum, Black Poum, Black Plum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Syzygi...

หูกวาง

หูกวาง

ชื่อสามัญ : Bengal Almond, Almond, Sea Almon ชื่อวิทยาศาสตร์ : Treminalia catappa Linn ...

ฮ่อม

ฮ่อม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Baphicacanthus cusia (Nees) Bremek Zstrobilanthes flaccidfolius (Nees) Imlay วงศ...

เพกา

ชื่อสามัญ  Broken Bones Tree, Damocles tree, Indian trumpet flower ชื่อวิทยาศาสตร์  O...

แกแล/เข

กาแล/เข

ชื่อสามัญ Cockspur thorn ชื่อวิทยาศาสตร์ Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner (ชื่อ...

       ฟรีซดรายเป็นเทคโนโลยีการทำแห้งเยือกแข็งแบบสูญญากาศ หรือศัพท์ทางภาษาอังกฤษ เรียกว่า Freeze dried Technology หมายถึงการทำแห้ง (dehydration) ด้วยการแช่เยือกแข็ง (freezing) ทำให้น้ำเปลี่ยนสถานะเป็นผลึกน้ำแข็งก่อน แล้วจึงลดความดันเพื่อให้ผลึกน้ำแข็งระเหิด (sublimation) เป็นไอ ด้วยการลดความดันให้ต่ำกว่าบรรยากาศปกติ ขณะควบคุมให้อุณหภูมิต่ำ (ที่อุณหภูมิ เท่ากับหรือต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส น้ำแข็งระเหิดที่ความดันเท่ากับ 4.7 มิลลิเมตรปรอทหรือต่ำกว่า)

ที่มา : https://pattra15.wordpress.com/2011/06/19/การเปลี่ยนสถานะของสาร/

       ปัจจุบันได้มีการนำเทคโนโลยีฟรีซดรายมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตอาหารเพื่อเพิ่มความสะดวกสบายให้กับผู้บริโภค และเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการใช้วัตถุดิบเพื่อการประกอบอาหารในครัวเรือน เนื่องจากเทคโนโลยีฟรีซดราย (Freeze Dried Technology) เป็นกรรมวิธีการทำแห้งที่อุณหภูมิต่ำแล้วใช้ความดันเป็นตัวช่วยในการทำให้น้ำในอาหารระเหิดออกมา โดยคงสภาพอาหารและไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อตัวอาหารทำให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้ยังคงรักษารสชาติ เนื้อสัมผัส สารอาหาร  สามารถคืนตัวในน้ำได้อย่างรวดเร็ว และคงลักษณะของผลิตภัณฑ์สดก่อนทำแห้งไว้ได้มากที่สุด

 

ภาพกระบวนการอบฟรีซดราย โดยการทำให้อาหารแช่แข็งกลายเป็นอาหารแห้งโดยอาศัยการระเหิดของน้ำแข็งในสภาวะสุญญากาศ

ที่มา : http://thaicosmosfoods.co.th/th/technology-and-food-safety.php

 

       โดยกระบวนการฟรีซดรายยังให้รสชาติและเนื้อสัมผัสที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ  ทั้งสีสัน รูปร่าง ขนาด รสชาติ เนื้อสัมผัส รวมไปถึงการรักษาคุณค่าทางโภชนาการของอาหารได้อย่างครบถ้วนมากที่สุด สามารถกลับคืนสู่สภาวะเดิมได้ เมื่อถูกน้ำหรือให้ความชื้น ไม่บูดไม่เน่าเสียเพราะมีความชื้นไม่เกิน 3% เก็บไว้ในอุณหภูมิห้องปกติได้อย่างน้อย 1-2 ปี โดยไม่ต้องเก็บในห้องเย็น ซึ่งน้ำหนักของผลิตภัณฑ์จะลดลง 70-90% โดยไม่สูญเสียเนื้อเยื่อของอาหารแม้แต่น้อย

ที่มา : http://thaicosmosfoods.co.th/th/technology-and-food-safety.php

 

กระบวนการถนอมอาหารด้วยเทคโนโลยีฟรีซดรายมีคุณลักษณะเด่น ดังนี้

1.สามารถจัดเก็บได้เป็นเวลานานในอุณหภูมิปกติ โดยไม่สูญเสียความอร่อย รสชาติ กลิ่น และคุณค่าทางโภชนาการ

2.สะดวก ง่ายดาย เพียงเติมน้ำร้อนหรือน้ำเปล่าก็สามารถอร่อยกับรสชาติแบบต้นตำรับได้อย่างง่ายดาย

3.น้ำหนักเบาและสะดวกแก่การพกพา

ลำไยฟรีซดราย                                                      ขนุนฟรีซดราย

     

ที่มา : http://snackideas.co.th/th/ผลิตภัณฑ์สแนคไอเดียส์/สำหรับบรรจุเอง

       เทคโนโลยีฟรีซดรายนับว่าเป็นเทคโนโลยีการถนอมอาหารที่ดีที่สุดในขณะนี้ และได้รับการยอมรับในระดับโลกว่าสามารถคงคุณภาพอาหารและรสชาติได้อย่างดี โดยมีผลิตภัณฑ์ที่ผ่านกระบวนการฟรีซดราย ได้แก่ ลำไยกรอบไส้ทุเรียน ทุเรียนกรอบ ลำไยฟรีซดราย ขนุนฟรีซดราย นอกจากนี้ยังมีอาหารคาวและผลไม้อีกด้วย

 

 

เอกสารอ้างอิง

เทคโนโลยีและความปลอดภัยด้านอาหาร.[ออนไลน์] [อ้างถึงวันที่ 11กันยายน 2561] เข้าถึงจาก

       http://thaicosmosfoods.co.th/th/technology-and-food-safety.php        

บริษัท ไทยพรีเมียร์ ฟู้ดส์ จำกัด.  Fresh Feezdry Technology. [ออนไลน์] [อ้างถึงวันที่ 13กันยายน 2561]

       เข้าถึงจากhttps://www.thaipremierfoods.com/fresh-feezdry-technology.html

ฟรีซดราย คืออะไร.[ออนไลน์] [อ้างถึงวันที่ 13กันยายน 2561] เข้าถึงจาก

       http://bangkokfreezedry.com/bkfreezdry/freezedry/index.html

ฟรีซดราย ดีอย่างไ?.[ออนไลน์] [อ้างถึงวันที่ 12กันยายน 2561] เข้าถึงจาก

       http://www.thaichef.in.th/article_fd.php