ฐานข้อมูลส่งเสริมและยกระดับคุณภาพสินค้า OTOP
วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

                             วันที่ 18-19 สิงหาคม 2563 กลุ่มรับรองคุณภาพผล...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

                         วันที่ 5 สิงหาคม 2563 กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการ...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

                            กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทย...

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

                          วันที่ 23 กรกฎาคม 2563 กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ส...

Next Tab

พืชให้สี

สีย้อมธรรมชาติจากพืช (Vegetable Dyes) สีย้อมที่ได้จากพืชจัดเป็นกลุ่มสารสีหลักของสีย้อมธรรมชาติ โดยเป็นสีย้อมที่ได้จากทุกส่วนของพืชทั้ง ราก เปลือก ลำต้น เนื้อไม้ ใบ ดอก ผล และเมล็ด ซึ่งสีย้อมกลุ่มนี้มีความหลากหลาย สามารถแบ่งโดยใช้กรรมวิธีการย้อมเป็นเกณฑ์ได้ 2 กลุ่มคือ.-

  • การย้อมเย็น หรือการย้อมแบบหมัก เป็นสีย้อมที่ได้จากพืช เช่น ผลมะเกลือ ห้อม และคราม เป็นการย้อมสีจากพืชที่มีกรรมวิธีการย้อมโดยไม่ใช้ความร้อน แต่อาศัยคุณสมบัติธรรมชาติของสารสี และปฏิกิริยาเคมีทางธรรมชาติช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย โดยจะหมักเส้นใยไว้ในน้ำย้อมที่อุณหภูมิปกติ ซึ่งพืชแต่ละชนิดจะมีรายละเอียดวิธีการย้อมที่แตกต่างกันตามชนิดของสารสีที่ได้จากพืช
  • การย้อมแบบร้อน สีย้อมธรรมชาติที่ใช้การย้อมแบบร้อน จะเป็นสีย้อมที่ได้จากพืชทั่วไปและครั่ง โดยจะนำวัตถุดิบย้อมสีมาสับให้ละเอียดแล้วต้มให้เดือดเพื่อสกัดสารสีออกจากพืช จากนั้นจึงทำการย้อมกับเส้นใย จะมีการใช้ความร้อนและสารช่วยย้อมช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย

ขมิ้น

ขมิ้น

ชื่อสามัญ : Turmeric,Curcuma ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma longa Linn วงศ์ :&nb...

ขี้เหล็ก

ขี้เหล็ก

ชื่อสามัญ  Siamese senna, Siamese cassia, Cassod tree, Thai copperpod ชื่อวิทยาศาสตร์ ...

ข่า

ข่า

ชื่อสามัญ  Galanga, Greater Galangal, False Galangal ชื่อวิทยาศาสตร์  Alpinia galanga...

คราม

คราม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Indigofera tinctoria Linn. วงศ์ : PAPILIONEAE ชื่อท้องถิ...

คำฝอย

คำฝอย

ชื่อสามัญ แซฟฟลาวเวอร์ Safflower, False Saffron, Saffron Thistle คําฝอย ชื่อว...

ฉำฉา

ฉำฉา

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Samanea saman (Jacg) Merr. วงศ์ : MIMOSACEAE ชื่อท้องถ...

ตะโก

ตะโก

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Diospyios rhodcalyx. วงศ์ : EBENACEAE ชื่อท้องถิ่น...

ติ้ว

ติ้ว

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gratoxylum tormosurn (Jack) Dyer ssp.pruniflorum (Kurz.) Gogelin วงศ์ : GU...

ทองกวาว

ทองกวาว

ชื่อสามัญ : Flame of the forest, Bastard Teak, Bengal kinotree, Kino tree ชื่อวิทยาศาสตร์...

นนทรี

นนทรี

ชื่อสามัญ  Copper pod, Yellow flame, Yellow Poinciana  ชื่อวิทยาศาสตร์  Peltopho...

ประดู่

ประดู่

ชื่อสามัญ Burma Padauk, Narra, Angsana Norra, Malay Padauk, Burmese Rosewood, Andaman Redwood, Amboyna Wood, Indian rosewood...

ฝาง

ฝาง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Caesalpinia sappan Linn. วงศ์ : CAESALPINIACEAE ชื่อท้อง...

พะยอม

พะยอม

ชื่อสามัญ  Shorea, White Meranti  ชื่อวิทยาศาสตร์ Shorea roxburghii G. Don. ว...

มะพร้าว

มะพร้าว

ชื่อสามัญ  Coconut ชื่อวิทยาศาสตร์  Cocos nucifera L. วงศ์ ARECACEAE...

มะพูด

มะพูด

ชื่อสามัญ  Garcinia  ชื่อวิทยาศาสตร์  Garcinia dulcis (Roxb.) Kurz (บ้าง...

มะหาด

มะหาด

ชื่อสามัญ  Lok Hat ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus lakoocha Roxb. (ชื่อพ้องว...

มะเกลือ

มะเกลือ

ชื่อสามัญ  Ebony tree ชื่อวิทยาศาสตร์  Diospyros mollis Griff. วงศ์ ...

มังคุด

มังคุด

ชื่อสามัญ :  Mangosteen ชื่อวิทยาศาสตร์ :  Garcinia mangostana Linn. ...

ยอบ้าน

ยอบ้าน

ชื่อสามัญ : Great morinda, Tahitian noni, Indian mulberry, Beach mulberry หรือจะเรียกตามแหล่...

ยอป่า

ยอป่า

ชื่อสามัญ : - ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morinda coreia Ham. วงศ์ : RUBIACEAE ชื่...

ยูคาลิปตัส

ยูคาลิปตัส

ชื่อสามัญ : Blue gum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eucatyptus glopulus Labill ชื่อท้อ...

สมอไทย

สมอไทย

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia chebula Retz. วงศ์ : COMBRETACEAE ชื่อท้องถิ...

สะเดา

สะเดา

ชื่อสามัญ : Neem Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ : Azadirachta indica A. Juss. (Varsiamensis Valeton)...

สะแกนา

สะแกนา

ชื่อสามัญ Bushwillows, Combretums ชื่อวิทยาศาสตร์ Combretum quadrangulare Kurz. (ชื่อ...

สัก

สัก

ชื่อสามัญ : Teak ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tectona grandis L.f. วงศ์ : VERBE...

ส้มป่อย

ส้มป่อย

ชื่อสามัญ Soap Pod ชื่อวิทยาศาสตร์ Acacia concinna (Willd.) DC. (ชื่อพ้องวิ...

หว้า

หว้า

ชื่อสามัญ : Jambolan Plum, Java Plum, Black Poum, Black Plum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Syzygi...

หูกวาง

หูกวาง

ชื่อสามัญ : Bengal Almond, Almond, Sea Almon ชื่อวิทยาศาสตร์ : Treminalia catappa Linn ...

ฮ่อม

ฮ่อม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Baphicacanthus cusia (Nees) Bremek Zstrobilanthes flaccidfolius (Nees) Imlay วงศ...

เพกา

ชื่อสามัญ  Broken Bones Tree, Damocles tree, Indian trumpet flower ชื่อวิทยาศาสตร์  O...

แกแล/เข

กาแล/เข

ชื่อสามัญ Cockspur thorn ชื่อวิทยาศาสตร์ Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner (ชื่อ...

         เทศกาลกินเจ หรือ กินแจ หรือบางแห่งเรียกว่า ประเพณีถือศีลกินผัก เป็นประเพณีแบบลัทธิเต๋ารวม 9 วัน โดยกำหนดเอาวันตามจันทรคติ คือ เริ่มต้นตั้งแต่วันขึ้น 1 ค่ำ ถึง ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 9 ตามปฏิทินจีนของทุกปี

ที่มา : https://www.moneyguru.co.th/blog/เตรียมพร้อม-กินเจ

 

       ในช่วงเทศกาลกินเจ เราจะเห็นธงประจำเทศกาลสีเหลืองมีตัวหนังสือสีแดง ปรากฏให้เห็นอยู่ทั่วไปตามร้านอาหาร 2 ข้างถนน โดยคำว่า “เจ” หรือ “ไจ” แปลว่า ไม่มีของคาว ซึ่งก็คือเนื้อสัตว์ทุกชนิด รวมไปถึงพืชหรือผักที่มีกลิ่นฉุน ซึ่งในช่วงเทศกาลกินเจ จะต้องงดรับประทานอาหาร 4 ข้อดังนี้[3]

1. งดการบริโภคเนื้อสัตว์ หรือทำอันตรายสัตว์ทุกชนิด

2. งดไข่ นม เนย และน้ำมันที่มาจากสัตว์

3. งดอาหารรสจัด (รสเค็มมาก หวานมาก เปรี้ยวมาก และเผ็ดมาก)

4. งดผักกลิ่นฉุน ได้แก่ กระเทียม หัวหอม หลักเกียว กุยช่าย และใบยาสูบ

       อาหารเจนับว่าเป็นอาหารที่มีประโยชน์ และไม่มีพิษต่อร่างกาย เพราะได้โปรตีนจากถั่วต่างๆ และยังย่อยง่าย เป็นการแบ่งเบาภาระของระบบย่อยอาหาร และระบบขับถ่าย ผู้ที่รับประทานเจ สามารถเลือกส่วนผสมดังต่อไปนี้มาปรุงอาหารได้ คือ ข้าวกล้อง (ใช้แทนข้าวขาว) โปรตีนเกษตร (แทนเนื้อสัตว์) ผักสด เห็ดหอม ถั่วนานาพันธุ์ เต้าหู้ แป้งหมี่กึง และผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันทำเป็นอาหารชนิดต่างๆ ปัจจุบันมีเมนูอาหารจำนวนมาก ซึ่งหลายเมนูทำเลียนแบบเนื้อสัตว์ได้เหมือนจริง เช่น ขาหมูเจที่ทำจากแป้ง และถั่ว ฯลฯ[2]                                                 

                ขาหมูเจ                                                                                           ผัดหมี่เจ

                               

                          ที่มา : https://cookpad.com/th/recipes/3759632-ขาหมูเจ                          ที่มา : https://www.smartsme.co.th/content/3073

 

ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับประทานอาหารเจ มีดังต่อไปนี้ [1]

1.ลดอาการท้องผูก อาหารเจประกอบด้วยผัก ผลไม้และธัญพืช กากใยอาหารจะช่วยกระตุ้นให้ระบบขับถ่ายทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้ลำไส้แข็งแรง ลดปัญหาท้องผูก ช่วยลดโอกาสการเป็นโรคริดสีดวงทวาร

2.ลดปริมาณไขมัน ควรเลือกเมนูที่เน้นผักและผลไม้เป็นหลัก ใช้น้ำมันที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพในการทำอาหาร และใช้น้ำมันในปริมาณน้อย

3.ช่วยให้ร่างกายขับของเสีย ในผักและผลไม้มีสรรพคุณช่วยขับของเสียและสารพิษที่อยู่ในร่างกาย

4.ลดความเสี่ยงต่อโรคมะเร็ง การกินเนื้อมากเกินไปและไม่กินผัก ทำให้เสี่ยงกับโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ แต่หากปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินหันมากินผักและผลไม้ให้มากขึ้นหรือกินเจ จะเริ่มเห็นการเปลี่ยนแปลงของร่างกายไปในทางที่ดีขึ้น

5.อวัยวะภายในแข็งแรง การกินเจจะช่วยให้โลหิตถูกฟอกให้สะอาดมากขึ้น อวัยวะภายในร่างกายแข็งแรง ร่างกายสามารถต้านทานสารพิษต่างๆ ได้มากกว่าการกินเนื้อ

6.ผิวพรรณเปล่งปลั่ง ผัก ผลไม้และธัญพืช มีวิตามิน สารต้านอนุมูลอิสระ โอมาก้าและแร่ธาตุต่างๆ ที่ช่วยทำให้ผิวพรรณกระจ่างใส ทำให้ผิวมีสุขภาพดี และผิวไม่หย่อนคล้อยก่อนวัย

7.สร้างภูมิคุ้มกันโรค เมนูอาหารเจโดยเฉพาะเมนูที่ทำจากเห็ด จะช่วยเพิ่มภูมิต้านทานของร่างกายและมีสารแอนติออกซิแดนต์ ทำหน้าที่ป้องกันเซลล์ไม่ให้ถูกทำลายหรือเสื่อมง่าย เห็ดที่มีประโยชน์ ได้แก่ เห็ดยามาบูชิตาเกะ เห็ดไมตาเกะ เห็ดหลินจือและเห็ดหอม

8.จิตใจผ่องใส ไม่ฟุ้งซ่าน การกินเจควบคู่กับการถือศีลปฏิบัติธรรม งดกินเนื้อสัตว์ถือว่าเป็นการลดการฆ่าสัตว์ ตัดชีวิต ไม่เบียดเบียนชีวิตสัตว์อื่นๆ ส่งผลให้เกิดความรู้สึกที่ดีกับตัวเรา ทำให้จิตใจดี ผ่องใสมากขึ้น

 

       การถือศีลกินเจนอกจากจะเป็นการสร้างบุญ ทำให้จิตใจสงบ สุขุม มีสติมั่นคงไม่หวั่นต่อเหตุการณ์ต่างๆ แล้วนั้น ยังมีประโยชน์ต่างๆ ต่อร่างกาย หากกินถูกหลักโภชนาการ ครบ 5 หมู่ อย่างพอเพียง กินโปรตีนจากถั่วและผลิตภัณฑ์จากถั่ว เช่น เต้าหู้ โปรตีนเกษตร ทดแทนโปรตีนจากเนื้อสัตว์ หลีกเลี่ยงอาหารประเภทแป้ง ทอด มีไขมันสูง มีรสเค็มจัด หวานจัด กินผักและผลไม้สดให้หลากหลายหลากสี

 

เอกสารอ้างอิง

[1] 8 ข้อดีของการเปลี่ยนจากเนื้อสัตว์มา“กินเจ”ให้ประโยชน์เยอะกว่าที่คิด.[ออนไลน์] [อ้างถึงวันที่ 11

          ตุลาคม 2561] เข้าถึงจาก https://spiceee.net/th/articles/23459?ref=linetoday

[2] กินเจ2561. [ออนไลน์] [อ้างถึงวันที่ 10ตุลาคม 2561]เข้าถึงจาก https://hilight.kapook.com

/view/29017

[3]อาหารเจกับมังสวิรัติต่างกันอย่างไรนะ?. [ออนไลน์] [อ้างถึงวันที่ 11ตุลาคม 2561] เข้าถึงจาก

          https://www.gourmetandcuisine.com/stories/detail/92