ฐานข้อมูลส่งเสริมและยกระดับคุณภาพสินค้า OTOP
วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

                             วันที่ 18-19 สิงหาคม 2563 กลุ่มรับรองคุณภาพผล...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

                         วันที่ 5 สิงหาคม 2563 กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการ...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

                            กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทย...

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

                          วันที่ 23 กรกฎาคม 2563 กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ส...

Next Tab

พืชให้สี

สีย้อมธรรมชาติจากพืช (Vegetable Dyes) สีย้อมที่ได้จากพืชจัดเป็นกลุ่มสารสีหลักของสีย้อมธรรมชาติ โดยเป็นสีย้อมที่ได้จากทุกส่วนของพืชทั้ง ราก เปลือก ลำต้น เนื้อไม้ ใบ ดอก ผล และเมล็ด ซึ่งสีย้อมกลุ่มนี้มีความหลากหลาย สามารถแบ่งโดยใช้กรรมวิธีการย้อมเป็นเกณฑ์ได้ 2 กลุ่มคือ.-

  • การย้อมเย็น หรือการย้อมแบบหมัก เป็นสีย้อมที่ได้จากพืช เช่น ผลมะเกลือ ห้อม และคราม เป็นการย้อมสีจากพืชที่มีกรรมวิธีการย้อมโดยไม่ใช้ความร้อน แต่อาศัยคุณสมบัติธรรมชาติของสารสี และปฏิกิริยาเคมีทางธรรมชาติช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย โดยจะหมักเส้นใยไว้ในน้ำย้อมที่อุณหภูมิปกติ ซึ่งพืชแต่ละชนิดจะมีรายละเอียดวิธีการย้อมที่แตกต่างกันตามชนิดของสารสีที่ได้จากพืช
  • การย้อมแบบร้อน สีย้อมธรรมชาติที่ใช้การย้อมแบบร้อน จะเป็นสีย้อมที่ได้จากพืชทั่วไปและครั่ง โดยจะนำวัตถุดิบย้อมสีมาสับให้ละเอียดแล้วต้มให้เดือดเพื่อสกัดสารสีออกจากพืช จากนั้นจึงทำการย้อมกับเส้นใย จะมีการใช้ความร้อนและสารช่วยย้อมช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย

ขมิ้น

ขมิ้น

ชื่อสามัญ : Turmeric,Curcuma ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma longa Linn วงศ์ :&nb...

ขี้เหล็ก

ขี้เหล็ก

ชื่อสามัญ  Siamese senna, Siamese cassia, Cassod tree, Thai copperpod ชื่อวิทยาศาสตร์ ...

ข่า

ข่า

ชื่อสามัญ  Galanga, Greater Galangal, False Galangal ชื่อวิทยาศาสตร์  Alpinia galanga...

คราม

คราม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Indigofera tinctoria Linn. วงศ์ : PAPILIONEAE ชื่อท้องถิ...

คำฝอย

คำฝอย

ชื่อสามัญ แซฟฟลาวเวอร์ Safflower, False Saffron, Saffron Thistle คําฝอย ชื่อว...

ฉำฉา

ฉำฉา

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Samanea saman (Jacg) Merr. วงศ์ : MIMOSACEAE ชื่อท้องถ...

ตะโก

ตะโก

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Diospyios rhodcalyx. วงศ์ : EBENACEAE ชื่อท้องถิ่น...

ติ้ว

ติ้ว

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gratoxylum tormosurn (Jack) Dyer ssp.pruniflorum (Kurz.) Gogelin วงศ์ : GU...

ทองกวาว

ทองกวาว

ชื่อสามัญ : Flame of the forest, Bastard Teak, Bengal kinotree, Kino tree ชื่อวิทยาศาสตร์...

นนทรี

นนทรี

ชื่อสามัญ  Copper pod, Yellow flame, Yellow Poinciana  ชื่อวิทยาศาสตร์  Peltopho...

ประดู่

ประดู่

ชื่อสามัญ Burma Padauk, Narra, Angsana Norra, Malay Padauk, Burmese Rosewood, Andaman Redwood, Amboyna Wood, Indian rosewood...

ฝาง

ฝาง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Caesalpinia sappan Linn. วงศ์ : CAESALPINIACEAE ชื่อท้อง...

พะยอม

พะยอม

ชื่อสามัญ  Shorea, White Meranti  ชื่อวิทยาศาสตร์ Shorea roxburghii G. Don. ว...

มะพร้าว

มะพร้าว

ชื่อสามัญ  Coconut ชื่อวิทยาศาสตร์  Cocos nucifera L. วงศ์ ARECACEAE...

มะพูด

มะพูด

ชื่อสามัญ  Garcinia  ชื่อวิทยาศาสตร์  Garcinia dulcis (Roxb.) Kurz (บ้าง...

มะหาด

มะหาด

ชื่อสามัญ  Lok Hat ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus lakoocha Roxb. (ชื่อพ้องว...

มะเกลือ

มะเกลือ

ชื่อสามัญ  Ebony tree ชื่อวิทยาศาสตร์  Diospyros mollis Griff. วงศ์ ...

มังคุด

มังคุด

ชื่อสามัญ :  Mangosteen ชื่อวิทยาศาสตร์ :  Garcinia mangostana Linn. ...

ยอบ้าน

ยอบ้าน

ชื่อสามัญ : Great morinda, Tahitian noni, Indian mulberry, Beach mulberry หรือจะเรียกตามแหล่...

ยอป่า

ยอป่า

ชื่อสามัญ : - ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morinda coreia Ham. วงศ์ : RUBIACEAE ชื่...

ยูคาลิปตัส

ยูคาลิปตัส

ชื่อสามัญ : Blue gum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eucatyptus glopulus Labill ชื่อท้อ...

สมอไทย

สมอไทย

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia chebula Retz. วงศ์ : COMBRETACEAE ชื่อท้องถิ...

สะเดา

สะเดา

ชื่อสามัญ : Neem Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ : Azadirachta indica A. Juss. (Varsiamensis Valeton)...

สะแกนา

สะแกนา

ชื่อสามัญ Bushwillows, Combretums ชื่อวิทยาศาสตร์ Combretum quadrangulare Kurz. (ชื่อ...

สัก

สัก

ชื่อสามัญ : Teak ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tectona grandis L.f. วงศ์ : VERBE...

ส้มป่อย

ส้มป่อย

ชื่อสามัญ Soap Pod ชื่อวิทยาศาสตร์ Acacia concinna (Willd.) DC. (ชื่อพ้องวิ...

หว้า

หว้า

ชื่อสามัญ : Jambolan Plum, Java Plum, Black Poum, Black Plum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Syzygi...

หูกวาง

หูกวาง

ชื่อสามัญ : Bengal Almond, Almond, Sea Almon ชื่อวิทยาศาสตร์ : Treminalia catappa Linn ...

ฮ่อม

ฮ่อม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Baphicacanthus cusia (Nees) Bremek Zstrobilanthes flaccidfolius (Nees) Imlay วงศ...

เพกา

ชื่อสามัญ  Broken Bones Tree, Damocles tree, Indian trumpet flower ชื่อวิทยาศาสตร์  O...

แกแล/เข

กาแล/เข

ชื่อสามัญ Cockspur thorn ชื่อวิทยาศาสตร์ Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner (ชื่อ...

 

 

       มนุษย์รู้จักและนำเห็ดมาใช้บริโภคเป็นอาหารมาตั้งแต่มัยโบราณ โดยพบว่า ฟาโร กษัตริย์ของอียิปต์ทรงโปรดปรานเห็ดเป็นอาหารอันโอชะ ชาวกรีกเชื่อว่าเห็ดเป็นขุมพลังงาน และชาวจีนถือว่าเห็ดเป็นอาหารสุขภาพ ปัจจุบันเห็ดได้รับความนิยมในการบริโภคอย่างแพร่หลาย เนื่องจากมีรสชาติอร่อย และมีคุณค่าทางโภชนาการสูง ซึ่งอุดมไปด้วยโปรตีน คาร์โบไฮเดรต เส้นใยอาหาร วิตามิน และแร่ธาตุต่างๆ เหมาะสำหรับคนทุกวัย รวมทั้งยังมีสรรพคุณทางยาช่วยในการกระตุ้นการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน ลดความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ และช่วยในการต้านมะเร็งหลายชนิด

                                     ตารางแสดงคุณค่าทางอาหารของเห็ดชนิดต่างๆ (จากส่วนที่กินได้ 100 กรัม)

ชนิดของเห็ด

น้ำ

(กรัม)

พลังงาน

(แคลอรี่)

ไขมัน

(กรัม)

คาร์โบไฮเดรต

(กรัม)

เส้นใย

(กรัม)

โปรตีน

(กรัม)

  เห็ดโคน

84.90

48.72

0.280

5.28

1.963

6.27

  เห็ดนางฟ้า

90.27

33.32

0.071

4.79

0.472

3.36

  เห็ดฟาง

89.90

32.38

0.071

4.75

0.595

3.16

  เห็ดหอม

92.40

21.55

0.043

2.95

1.308

2.34

  เห็ดนางรม

90.70

32.39

0.043

5.67

0.396

2.13


                                     (ที่มา : ผาณิต, 2557)
 
       แต่การบริโภคเห็ดเพียงชนิดเดียวอาจได้รับประโยชน์ไม่เท่ากับการนำเห็ดอย่างน้อย 3 ชนิด มาปรุงเป็นอาหาร เพราะเมื่อนำเห็ด 3 ชนิด มารวมกันจะได้โปรตีนจากเห็ดที่ร่างกายสามารถดูดซึมไปใช้งานได้ง่ายกว่าโปรตีนจากเนื้อสัตว์ โดยโปรตีนจากเห็ดจะไปสร้างกรดอะมิโนที่ทำให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกาย คือ
       1. ช่วยล้างพิษที่สะสมในตับ ทั้งจากอาหารและสารเคมี เช่น พิษสุรา สารตกค้างในเนื้อสัตว์ สารเคมีจากเครื่องสำอาง (ลิปสติกสีสด ยาย้อมผม)
       2. ช่วยล้างพิษพวกอนุมูลอิสระ ซีสต์ เนื้องอก มะเร็ง อัลฟาท็อกซิล ไวรัสตับอักเสบ สเก็ดเงิน 
       3. ช่วยล้างไขมันในตับ ตับแข็งแรง ทำงานได้ดีขึ้น ทำให้อารมณ์ดี การสร้างเม็ดเลือดแดงดี
 
(ที่มา : http://www.npzmoon.com/?p=31064)
 
       การนำเห็ด 3 ชนิด หรือมากกว่า 3 ชนิดขึ้นไป ทั้งเห็ดสดหรือเห็ดแห้งมาปรุงอาหารนั้น เรียกได้ว่าเป็นเมนูเห็ดล้างพิษ สามารถช่วยล้างพิษที่สะสมอยู่ในร่างกายได้ดี ซึ่งนำมาปรุงเป็นอาหารได้หลากหลายวิธี ได้แก่ ต้ม ผัด แกง ยำ ย่าง ทอด หรือทำอาหารประเภทใดก็ได้โดยไม่ต้องใช้น้ำมัน นอกจากนั้นอาจนำไปต้มเป็นน้ำเห็ด 3 ชนิด ไว้สำหรับดื่มได้เช่นเดียวกัน
 
                                                                       แกงเห็ด                                                                                                น้ำเห็ด 3 ชนิด
                                                 
 
                                              (ที่มา : http://www.never-age.com/2124-1-                                                (ที่มา : http://www.acfs.go.th/healthfood/
                                          กินเห็ดสามอย่าง%20ช่วยล้างสารพิษในร่างกาย.html)                                                      showFood.php?food_id=31) 
 
       ทั้งนี้ เห็ด 3 อย่าง ที่นำมาใช้ปรุงอาหารต้องเป็นเห็ดที่สามารถบริโภคได้ เช่น
       1. เห็ดฟาง เป็นเห็ดที่มีสารช่วยป้องกันการเติบโตของไวรัสที่ทำให้เกิดไข้หวัดใหญ่ ช่วยลดอาการไขมันในเส้นเลือดหรือหัวใจ
       2. เห็ดหอม คนจีนใช้เห็ดหอมเป็นยาอายุวัฒนะรักษาหวัด ทำให้เลือดลมดี แก้โรคหัวใจ ป้องกันการเติบโตของเนื้อร้าย ต้านพิษงู ป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคมะเร็ง และโรคร้ายจากเชื้อไวรัส 
       3. เห็ดหูหนูขาว ใช้บำรุงร่างกาย บำรุงปอด บำบัดอาการอ่อนเพลีย ไอ เสมหะมีเลือดปน ร้อนใน คอแห้ง
       4. เห็ดหูหนูน้ำตาล ช่วยรักษาโรคร้อนใน โลหิตจาง แก้เจ็บคอ บำรุงเลือด แก้อาการท้องเสีย อุจจาระปัสสาวะมีเลือดปน และช่วยขับลมในกระเพาะอาหาร
       5. เห็ดเข็มทอง กินเป็นประจำช่วยรักษาโรคตับ โรคกระเพาะอาหาร และโรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง
       6. เห็ดขอนขาว ช่วยบำรุงร่างกาย บำรุงตับ ชูกำลัง แก้ไข้พิษ ช่วยให้ระบบขับถ่ายทำงานดีขึ้น
       7. เห็ดโคน ช่วยให้เจริญอาหาร บำรุงกำลัง แก้บิด คลื่นไส้ อาเจียน แก้ไอ ละลายเสมหะ 
       8. เห็ดนางฟ้า ช่วยป้องกันโรคมะเร็ง ลดไขมันในเส้นเลือด
       9. เห็ดนางรม ช่วยป้องกันโรคโลหิตจาง โรคความดันโลหิตสูง เหมาะสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน และผู้ที่ต้องการลดน้ำหนัก เพราะมีปริมาณไขมันและแคลอรี่ต่ำ
 
                                              เห็ดฟาง                                                           เห็ดเข็มทอง                                                        เห็ดหอม
 
                  
 
(ที่มา : http://design.drr.go.th/th/node/755)
 
 
 
(ที่มา : http://www.lovefitt.com/healthy-fact/สารพัดประโยชน์ของเห็ดนานาชนิด/)
 
       ดังนั้น การบริโภคเห็ด 3 ชนิด ถือเป็นการช่วยล้างสารพิษในร่างกาย บำรุงตับ และบำรุงสมอง สามารถรับประทานได้ทุกวัน เพราะมีคุณค่าทางโภชนาการสูง ไขมันต่ำ และไม่มีคอเลสเตอรอล อีกทั้ง ยังเป็นอาหารที่ให้ปริมาณโปรตีนสูง ผู้บริโภคจึงสามารถรับประทานทดแทนโปรตีนจากเนื้อสัตว์ได้โดยปราศจากสารตกค้างด้วย 
     
เอกสารอ้างอิง
คณะแพทย์ศาสตร์  โรงพยาบาลสงขลานครินทร์. ทานเห็ดต้านโรคภัยและสรรพคุณทางยา. [ออนไลน์]  [อ้างถึงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2561]. 
       เข้าถึงจาก : http://medinfo2.psu.ac.th/healthpromotion/images/stories/Banner_personel/p_1.pdf
ชำนาญ  พิทักษ์ทอง. บทที่ 1 ความสำคัญและประโยชน์ของการเพาะเห็ด. เห็ดเศรษฐกิจ, กรุงเทพฯ : เกษตรสยามบุ๊คส์, 2555, หน้า 7-16.
ผาณิต  พระดาเวชช. สารพัดเห็ดเพื่อสุขภาพ. ประโยชน์มหัศจรรย์ : เห็ด, กรุงเทพฯ : อมรินทร์สุขภาพ, 2557, หน้า 7-42.
ศัลยา  คงสมบูรณ์เวช. เห็ดทางการแพทย์กับสุขภาพ. [ออนไลน์]  [อ้างถึงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2561].  
       เข้าถึงจาก : http://www.sptn.dss.go.th/otopinfo/attachments/article/109/CF82(A13).pdf